Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Functional health patterns, 0EC58CB3-3D4F-4E6C-9D49-99681F423614, 1C4960A2…
Functional health patterns
ความหมายของแบบสุขแผนสุขภาพ
แบบแผน
พฤตกิรรมของบุคคลที่ต่อเนื่องกันในช่วงเวลาหนึ่ง
แบบแผนสุข
พฤติกรรมด้านสขุภาพของบุคคลซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลา
หนึ่ง และมีผลต่อสุขภาพ
กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพ
พัฒนาโดยมาร์ จอรีย์กอรด์อน (MajoryGordon)ศาสตราจารย์ ทางการพยาบาลท่ีวทิยาลัยบอสตัน(BostonCollegeofNursing) ประเทศสหรฐัอเมรกิา
แบบแผนสขุภาพใชเ้ป็นแนวคิดในการประเมินภาวะสุขภาพของบุคคล ครอบครวัหรือชุมชนทั้งในภาวะปกตและภาวะเจ็บป่วย
ประเมนิจากพฤติกรรมทั้งภายนอกและภายใน
มนุษยจ์ะมภีาวะสุขภาพที่ดีหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับความปกติ(function)
หรือผิดปกติ (dysfunction) ของแบบแผนสุขภาพ
องค์ประกอบของแบบแผนสุขภาพแต่ละแบบแผน
1.พฤติกรรมภายใน
คือ พฤติกรรมที่ไมส่ามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าหรอืใช้เครื่องมือทาง วิทยาศาสตร์ตวจสอบได้โดยตรง
-กระบวนการทางานทางกาย หรือทางชีวภาพในระบบต่างๆ เช่น ระบบหายใจ ระบบหัวใจ และหลอดเลอืด
-กระบวนการคิดความรขู้องบุคคลเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ
-เจตคติ ซึ่งประกอบด้วยความรู้สึกความคิดเห็นค่านิยมของบุคคล
พฤติกรรมภายนอก
-พฤติกรรมที่เป็นคำพูด
พฤติกรรมที่ไม่ใช่ค่าพดู เช่น กิริยาท่าทาง การเดิน การหัวเราะร้องไห้ฯลฯ
-การตรวจโดยใช้เคื่องมือทางการแพทย์ เช่น การตรวจวดัสญัญาณชีพ การเอกซเรย์เป็นต้น
-การตรวจทางห้องปฏบิตักิาร เช่น การตรวจเลืออการตรวจสิ่งคัดหลังต่างๆ
3.ปัจจัยส่งเสริมพฤติกรรมและอปุสรรค
-พฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายในจะมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน
-พฤติกรรมภายในเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมภายนอก
คือการกระทาที่แสดงออกมาให้สังเกตเห็นได้ รับรู้ได้ หรือใช้เครื่องมือตรวจสอบได้ เช่น
.
1.แบบแผนการรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
-เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินความคิด ความเข้าใจของบุคคลต่อภาวะสุขภาพ โดยทั่วไปของตนเองและของผู้ที่ตนรับผิดชอบ ว่าถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ และมีความคาดหวังต่อภาวะสุขภาพหรือการรักษาอย่างไร
-ความรู้ในการดูแลสขุภาพของตนเอง
-พฤติกรรมการส่งเสริมสขุภาพการป้องกันความเจ็บป่วยการดูแลรักษาและการฟท้นฟู
สภาพร่างกาย
-รวบรวมโดยการซกัประวัติและการตรวจร่างกาย
แนวทางการประเมินการรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
การซักประวัติ
-การรับรู้สุขภาพของตนเองหรือบคุคลท่ีรับผิดชอบท้องดีตและปจจุบันเป็นอย่างไร ถูกต้องหรือไม่
-ประวัติ ความถี่ในการเกิดอาการเจ็บป่วย บ่อยเพียงใด
-มีความรู้เกี่ยวกับโรคนที่เป็นหรือสาเหตุของโรคถกูต้องหรือไม่ อย่างไรและวิธีการแก้ไข้เมื่อเจ็บป่วย
-มีความรสู้กึและความคาดหวังเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพท่ีเกดิขึ้นอย่างไร
11แบบแผนสุขภาพของ Majory Gordon
กระบวนการพยาบาล ( Nursing Process)
การประเมิน
ภาวะสขุภาพ
การวินิจฉัย
การพยาบา
การวางแผนการพยาบาล
การนาไป
ปฏิบัติ
การ
ประเมินผล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การจัดระข้อมูล
การบันข้อมูล
-มีความต้องการความช่วยเหลือจากทีมการพยาบาลหรือผู้รักษาอย่างไร
-การได้รับภูมิคุ้มกัน
-การรบัประทานยาเป็นประจำและเหตุผลที่รับประทานยา
-การตรวจร่างกายประจำปี
-การมพีฤตกิรรมเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสขุภาพ
-ประวัติการแพ้สารต่างๆ
-การดูแลความสะอาดของร่างกายตนเอง
การตรวจร่างกาย
-ลักษณะทั่วไปและความพิการ เช่น ท่าทางการเดินการลุกนั่งมการ
เคลื่อนไหวแขนขา การพดูคุย การแสดงสีหน้า
-ความสะอาดของร่างกาย เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย
-ความร่วมมือในการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยหรอืครอบครัว
-สังเกตการปฏิบัติตนขณะเจ็บป่วยของผู้ป่วยหรือการได้รับการดูแล จากครอบครัว
2.แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
-ปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการได้รับสารอาหาร น้ำ เกลือแร่ ค้นหาสิ่งบ่งชี้ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงของภาวะทุพโภชนาการ เช่นความอยากอาหาร ลดลง
ประเมนิการทางานของร่างกายทเกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการได้แก่การเคี้ยว การกลืน การย่อย การดูดซึม และการเผาผลาญ
-ประเมินพฤติกรรมการรับประทานอาหารโดยพจิารณาความสอดคล้อง กับอาหารที่ควรได้รับและน้ำหนักตัว
การซักประวัติ
-มีความรู้เกี่ยวกับอาหารและโภชนาการหรือไม่
แบบแผนเกี่ยวกับบริโภคนิสัยและแบบแผนการดำเนินชวีติ (lifestyle)
-ประวัติการเป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารทและโรคอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินทางอาหาร
-ปัญหาในการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารแล้วมีอาการแน่นท้อง
-ประวัติการเพิ่มหรือลดของน้ำหนักตัวจากปกติ
-ประวัติการเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับการเผาผลาญสารอาหารที่ผิดปกติทั้งของผู้ป่วยและครอบครัว
-การรับประทานยาที่เกี่ยวข้องกับการเผาผลาญสารอาหาร
การซักประวัติ (น้ำและอิเล็กโทรไลต์)
-ชนิดและปริมาณน้ำที่ดีในหนึ่งวัน
-โรคหรือภาวะที่เสี่ยงต่อการเกิด ภาวะขาดน้ำ ภาวะน้ำเกินหรือมีปัญหาความไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลต์
ยาท่ีได้รับซึ่งอาจมีผลต่อความสมดุลของน้ำและอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย
การตรวจร่างกาย
-ตรวจลักษณะท้อง ตับ ม้าม ก้อนในท้อง ฟังเสียงการเคลื่อนไหวของลาไส้(Bowelsound)
-ประเมนิ ภาวะโภชนาการว่าอ้วน ท้วม ปกติ หรือผอม โดยประเมินจากน้ำหนักและส่วนสูงที่ สมดุลกันหรือประเมินจากดัชนีมวลกาย(BMI)
การตรวจร่างกาย(น้ำและอิเล็กโทรไลต์)
-ผิวหนังตรวจดูความยืดหยุ่น(skinturgor)ความอนุ่ความชื้นของผิวหนัง
-ตรวจริมฝีปาก เยื่อบุปาก และลิ้นว่ามีแต่กแห้งหรือไม่
-ตรวจ ดูจำนวนและสีของน้ำปัสสาวะ
-ประเมินอาการขาดนเำ(Dehydration) จากการตรวจร่างกาย
-ตรวจดูอาการบวม (Edema)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ เช่น
-การตรวจเลือดเพื่อประเมินปัญหาเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการความสมดุลของสารน้ำและเกลือ
แร่ต่างๆ ในร่างกาย
การตรวจอลัตร้าซาวด์ช่องท้อง(Ultrasound)ประเมินความผิดปกติของอวยัวะภายในช่องท้อง และทางเดินอาหาร
3.แบบแผนการขับถ่าย (Elimination)
การซักประวัติ
-แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะวันละกี่ครั้ง จำนวนมากน้อยเท่าใด ชอบกลั้นปัสสาวะหรือไม่ ปัสสาวะตอนกลางคืนหรือไม่ จำนวนกี่ครั้ง
-ปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะและวิธีการแก้ไข เช่น ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะลำบาก
-ปัจจัยส่งเสริม และปัจจัยที่เป็นอปุสรรคต่อแบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะปกติ
เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินกระบวนการขับถ่าย ลักษณะ ปริมาณ จำนวนครั้งของของเสียทุกประเภทที่ออก จากร่างกายทั้งอุจจาระ ปัสสาวะ น้ำและอิเลคโตรไลท์
-ประวัติการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินปัสสาวะหรือไต
-ประวัติการใช้ยาต่างๆ เช่น ยาขับปัสสาวะยาลดความดันโลหิตซึ่งมีผลต่อการทางานของไต
-ซักประวัติเกี่ยวกับแบบแผนการขับถ่ายอุจจาระ
-ปัญหาในการขับถ่ายอุจจาระและวิธกีารแก้ไข
-ปัจจัยส่งเสรมิและปัจจัยที่เป็นอปุสรรคต่อแบบแผนการขับถ่ายอุจจาระ
การตรวจร่างกาย
-สังเกตสี ปริมาณ ลักษณะปสัสาวะที่ขับออกมาจากผู้ป่วยและปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะว่ามคีวาม
ผิดปกติหรือไม่ สอดคล้องกับการซักระวัติหรือไม่
-สังเกตการมีกระเพาะปัสสาวะเต็ม(FullBladder)
ตรวจร่างกายทั่วไปท่ีเกี่ยวข้องกับปญหาของระบบทางเดินปัสสาวะ
ตรวจดูลักษณะท้อง ตรวจการเคลื่อนไหวของลำไส้ (Bowel sound) ตรวจทวารหนักเดื้อดูแผล ตรวจปริมาณ ลักษณะของอุจจาระว่ามีลักษณะผิดปกติหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
-ตรวจปัสสาวะ เพื่อประเมินความผิดปกติของระบบบทางเดินปัสสาวะ
-ตรวจเลือดเพื่อดูระดับของยูเรียไนโตรเจน และครีเอตินนินในเลือดบ่งบอกการทางของไต
-เอกซเรย์ Ultrasound ดูความผิดปกติไต ท่อไต และการอุดตันทางเดินปัสสาวะ
-การตรวจอุจจาระเพื่อประเมินว่าอัจจราะมีเม็ดเลือดแดงเม็ดเลือขาวพยาธิหรือเมีเลือดปน ในอุจจราะหรือไม่
-การส่องกล้องทางทวารหนักเพื่อตรวจหาความผิดปกติของลำไส้ใหญ่เพื่อการถ่ายภาพรังสีทางทวารหนัก
4.แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย (Activity and Exercise)
-ผลกระทบที่เกิดจากการเจ็บปว่ยต่อการประกอบกจิกรรมและการออกกำลังกาย
-ข้อจำกัดหรือเงื่อนไขในการดาเนินชีวิตผลต่อการทำกิจกรรมและออกกำลังกาย
-ความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อไม่สามารถทากจิกรรมทตี่นเองต้องการ หรือไม่สามารถปฏิบัติตาม คำแนะนำได้เนื่องด้วยข้อจำกัดต่างๆ
-เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินระดับความสามารถในการประกอบกจิกรรมต่างๆใน ชีวิตประจำวัน
การซักประวัติ
-ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันว่าสามารถทำอะไรได้บ้าง
-กิจกรรมในงานอาชีพหนักเบาอย่างไร
-การออกกำลังกรนชนิดของการออกกำลังกายระยะเวลาในการออกกำลับกายสัปดาห์ละ กี่ครั้ง แต่ละครั้งใช้เวลานานเท่าไร
-ประวัติเกี่ยวกับนันาการ งานอดิเรกหรือการใชเ้วลาว่าง
-ประวัติการป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำ
-ปัจจัยเสริมที่ทำให้มีความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
-การได้รับบาดเจ็บหรือเกิดอุบัติต่อกระดูกข้อ และกล้ามเนื้อ
-ความเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ
-การเป็นโรคที่เก่ียวข้องกับกระดูก ข้อ กล้ามเน้ือ
-การมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาระบบทางเดินหายใจ
-การได้รับรับเจ็บที่ทำให้เกิดปัญหาระบบทางเดินหายใจ
-การใช้ยาต่างๆ ที่มีผลต่อการหายใจ เช่น ยาขยายหลอดลมยานอนหลับ
-ประวัติเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด
-ประวัติมีปัจจัยเสี่ยงตอ่การมีปัญหาระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
-ประวัติการใช้ยาที่มีผลต่อการทางานของหัวใจและการไหลเวียนโลหติและการเกิดฤทธิ์ ข้างเคยีงของยา
-ประวตักิารเกิดอาการผิดปกติต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการทางานของหัวใจและการ ไหลเวียนโลหติ
-ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัวดว้ยโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานโรคหลอด เลือดและหัวใจไขมันในเลือดสูง
การตรวจร่างกาย
-ตรวจร่างกายระบบต่างๆเพื่อประเมินความสามารถในการทากจิกรรมต่างๆ
-ประเมินความสามารถในการเคลือนไหวของแขนขา
-สังเกตการทากิจกรรมต่างๆ ของผู้ป่วย
-สังเกตความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆ
-ตรวจวัดสัญาณชีพ ประเมินอาการของความดัน
โลหิตสูง
-ตรวจอาการขาดออกซิเจน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
-การตรวจเลือดและตรวจเอกซเรยป์อดเพื่อประเมินภาวะผิดปกติที่เป็นอปุสรรคตอ่การ ปฏิบัตกิจิกรรมต่างๆหรือไม่
5.แบบแผนการพักผ่อนนอนหลับ (Sleep and Rest)
การซักประวัติ
-พฤตกิรรมหรือส่ิงที่ช่วยทำให้นอนหลับได้ง่าย
-ปัญหาการนอน
-พฤตกิรรมการนอน ประวัติเกี่ยวกับอุปนิสัยการนอน
-พฤติกรรมการผ่อนคลายชนิดและความถี่ของกจิกรรมที่ทำให้ผ่อนคลาย
-มีการใช้ยานอนหลับหรือไม่ ถ้ามีใช้ยาอะไร ต้ังแต่เมื่อไร ความถี่ในการใช้ยา
การตรวจร่างกาย
-สังเกตหน้าตาว่านอนหลับพักผ่อนเพียงพอหรือไม่
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับการนอนหลับ การพักผ่อน ปัญหาเกี่ยวกับการนอนปัจจัย ส่งเสริม ปัจจัยเสี่ยง และอุปสรรคตอ่แบบแผนการนอนกิจกรรมที่บคุคลปฏิบัติเพื่อให้ผ่อนคลาย
6.แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้ (Cohnition and Perception)
1.การรับรู้ความรู้สึกและการตอบสนอง
2.ความสามารถทางสติปัญญา
การซักประวัติ
-ความรู้สึกทั่วไป สุขสบายหรือไม่สุขสบาย
-ปัญหาเกี่ยวกับความรู้สึกตัว เช่น มีอาการสับสน ซึม ไม่รู้สึกตัวและระยะเวลาท่ีมีอาการ
-ปัญหาเกี่ยวกับการได้กลิ่น เช่น มีความผิดปกติของจมกู
-ปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็น เช่น เห็นภาพซ้อน ตามัว มองไม่เห็น
ปัญหาเกี่ยวกับการได้ยิน เช่น หูอื้อ หูตึง ไม่ได้ยิน มีเสียงดังในหู
-ปัญหาเกี่ยวกับการรับรู้ความรู้สึกทางผิวหนัง
-ปัญหาเกี่ยวกับการรับรส ไม่สามารถรับรสได้ ปากชา ล้ินชา
-พัฒนาการด้านสติปญัญาโดยการซักถาม
-ความเจ็บป่วยวยที่ทำให้ ความสามารถทางสติปัญญาเปลี่ยนแปลง
-ประวัติการได้รับยาบางชนิดซึ่งมีผลต่อความคดิความจำหรือทำให้มีอาการสับสน
-ประวัติความเจ็บป่วยหรือโรคประจำตัวที่มีผลต่อการรับรู้ความรู้สึกดังกล่าว
การตรวจร่างกาย
-ประเมินระดับความรู้สึกตัว
-สังเกตลักษณะทั่วไป
-ประเมินระดับสติปัญญา (lgA) โดยใช้แบบทดสอบ
7.แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์ (Self perception and Self concept)
กาซักประวัติ
-ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับความสามารถในด้านต่างๆ
-ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงร่างกายที่มีอปุกรณเ์พิ่มขึ้น
-ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับภาพลักษณ์โดยทั่วไปรู้สึกว่าอ้วน ผอม สูงหรือเตี้ยเกินไป
ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับการสญูเสียอวัยวะจากการเป็นโรค การผ่าตัด
-ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับความภาคภูมิใจในตนเอง ความพอใจในตนเองความรู้สึกสูญเสียความ มั่นคงปลอดภัย ท้อแท้ ส้ินหวัง เป็นต้น
การตรวจร่างกาย
-สังเกตความสนใจตนเองของผู้ป่วย
-การแต่งกาย บุคลิกภาพ
-การกล่าวถึงตนเอง
-การสังเกตปฏิกริยิาตอบสนองหรอืพฤตกิรรมท่ีแสดงออกต่อการเปลี่ยนแปลงหรทอนญูเสีย เช่น อาการอาย
แบบแผนที่เกี่ยวกับความคิดความรู้สึกของบคุคลที่มีต่อตนเอง
(อัตมโนทัศน์)การมองตนเอง เกี่ยวกเบรูปร่างหน้าตา ความพิการ(ภาพลักษณ์)ความสามารถคุณค่าเอกลักษณ์และ ความภูมิใจในตนเอง
8.แบบแผนทบาทและสัมพันธ์ภาพ (Role and Relationship)
การซักประวัติ
-หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและสมาชิกคนอื่นๆต่อครอบครัว
-การแสดงบทบาทในครอบครัวทั้งในขณะที่มีสุขภาพดีและการเปลี่ยนแปลงบทบาทในขณะเจ็บป่วยมี
ผลกระทบต่อครอบครัวหรือไม่
-โครงสร้างครอบครัว เช่น จำนวนสมาชิกในครอบครัวมีใครบ้าง หรืออยู่คนเดียว
-สัมพันธภาพของผู้ป่วยกับครอบครัว เพื่อนร่วมงาน เพื่อนบ้าน การเปลี่ยนแปลงของสัมพัธภาพ โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคเรื้อรังหรือช่วยตนเองไม่ได้
-ตำแหน่งความรับผิดชอบต่อหน้าที่การงานอาชีพ
-สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการสร้างสัมพันธภาพที่ดี เช่น ทัศนคติที่ไม่ดีต่อกัน ความเครียดภายใน ครอบครัวปัญหาเศรษฐกิจในครอบครัว
การตรวจร่างกาย
-สังเกตพฤติกรรมต่างๆ หรือท่าทางที่แสดงออกต่อ ครอบครัวและบุคคลในครอบครัวแสดงต่อผู้ป่วยลักษณะ การโต้ตอบระหว่างผู้ป่วยกับบุคคลในครอบครัวรวมท้ัง เพื่อนผู้ร่วมงาน การมาเยี่ยมของคนในครอบครัวด้วย
แบบแผนเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ ความรเบผดิชอบ การติดน่อสื่อสารและการมีสัมพัธภาพกับบุคคลทั้งภายในครอบครัวและสังคมรวมทั้งปัจจยัส่งเสริม
9.แบบแผนเพศและการเจริญพันธ์
(Sexuality and Reproduction)
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับพัฒนาการตามเพศซึ่งมีอิทธพิลมาจากพฒันาการด้านร่งกาย และอิทธิพลของสังคม สิ่งแวดล้อม การเลี้ยงดูลักษณะการเจริญพันธุ์พฤตกิรรม ทางเพศและเพศสัมพันธ
การซักประวัติ
-การมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคทตี่ดิตอ่กนัได้ทางเพศสัมพนัธ์การมีพฤตกิรรม ทางเพศที่ไม่เหมาะสม เช่น รักร่วมเพศ
-เพศหญิงควรซักประวัติเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ การแท้ง การมีบตุรการคมุกำเนิดการ ติดเชื้อของอวัยวะสืบพันธุ์
-การมีเพศสัมพันธ์ปัญหาเพศสมัพันธ์ความเจ็บป่วยเกี่ยวข้อวกับการมีเพศสัมพัน และการป้องกันโรคติดต่อได้ทางเพศสัมพันธ์
-การเจริญพันธ์และการทำงานของระบบสืบพันธุ์
การตรวจร่างกาย
-สังเกตพฤติกรรมทางเพศจากลักษณะท่าทางที่แสดงออก ปฏิสัมพันธ์กับ บุคคลอนื่การใชภ้าษา
-เพศหญิง ตรวจเต้านม ต่อมน้ำเหลืองอวัยวะเพศหญิง เพศชาย ตรวจอวัยวะตรวจ อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อทางเพศสัมพนธ์เช่นโรคเอดส์
10.แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญความเครียด
(Coping and Stress tolerance
การซักประวัติ
ข้อมูลท่ัวไป เช่น อายุการศึกษา อาชีพ รายได้ สถานภาพสมรส
-สัมภาษณ์เกี่ยวกับลักษณะอุปนิสัยหรืออารมณ์พื้นฐานของผู้ป่วย
-ซักถามส่ิงท่ีทำให้เกิดความเครียด ไม่สบายใจ วิตกกังวล กลัวเครียด คับข้องใจ
-อาการต่างๆ เมื่อเกิดความเครียด นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร เหนื่อยหอบ
-วิธีการจัดการความเครียด เช่น การระบายความเครียดกับบุคคลใกล้ชิด
-ซักถามความต้องการการช่วยเหลือและบคุคลที่สนับสนุนให้กำลังใจช่วยแก้ปัญหา
การตรวจร่างกาย
-ตรวจสอบพฤติกรรมที่บ่งชี้ถึงความเครียด ความ
เศร้าความวเตกกังวล
-เป็นแบบแผนเกี่ยวกับการรับรู้ลักษณะอารมณ์พนื้ฐานการรับรู้เกี่ยวกับความเครียด ปฏิกิรยิาของร่างกายเมื่อเกิดความเครียด
11.แบบแผนคุณค่าและความเชื่อ (Value and Belief)
การซักประวัติ
-สิ่งสำคัญในชีวิต หรือสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ อาจเป็นบุคคล วัตถุ ส่ิงของศาสนาคุณงามความดี
-ความเช่ือ ความผูกพเน ความศรทัธาที่มรต่อส่ิงต่างๆ
-ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม
-ความหวังหรือเป้าหมายในชวีติ
-การปฏิบัติกจิกรรมต่างๆ ความเชื่อทางศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม
-ความเชื่อเกี่ยวกับสขุภาพ
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับความเชื่อ ความศรัทธา ความมั่นคงเข้มแข็ง ทางด้านจิตใจ สิ่งที่มีคุณค่า มีความหมายต่อชีวิต สิ่งยึดเหนี่ยว ทางด้านจิตใจ
การตรวจร่างกาย
-สังเกตพฤติกรรมท่ีแสดงออกทางสีหน้ากริยาท่าทางรวมท้ังการแสดงออกทางอารมณ์
-สังเกตคาพดูของผู้ป่วยและญาติที่แสดงถึงการให้คุญณค่าและการมีความเชื่อในด้านต่างๆ
-สังเกตการแสดงออกที่แสดงถึงความเชื่อต่างๆ