Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะผันแปรออกซิเจน, 21/04/65 - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะผันแปรออกซิเจน
ภาวะโลหิตจาง(Anemia)
เกิดจาก การสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
สาเหตุ
ขาดสารอาหารที่จําเป็นต่อการสร้าง เม็ดเลือดแดง
โรคไตวายเรื้อรัง ทําให้ขาดปัจจัยใน การกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง
โรคของไขกระดูก เช่น ไขกระดูกฝ่อ มะเร็งในไขกระดูก การติดเชื้อในไขกระดูก
โรคเรื้อรังบางชนิด เช่น โรคมะเร็ง โรค ข้ออักเสบ โรคเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน
ภาวะเลือดข้น (Polycythemia vera )
เป็นโรคเลือดชนิดหนึ่งที่เกิดจาก การที่ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงจํานวนมากผิดปกติ
อาการ
-ปวดศีรษะ มึนงง มีอาการเวียนศีรษะ อาการคันตาม ผิวหนัง
การรักษา
-การเอาเลือดออกจากร่างกาย (phlebotomy)
-ยาที่ช่วยลดเม็ดเลือด
-ยาต้านเกล็ดเลือดขนาดต่ำ
หลีกเลี่ยงที่มีอุณหภูมิสูง
ภาวะเม็ดเลือดขาวตํ่า(Leukopenia)
สาเหตุ
ร่างกายอ่อนแอ
ภาวะขาดสารอาหาร
เม็ดเลือดขาวต่ำ
ภาวะเม็ดเลือดขาวสูงกว่าปกติ( leukocytosis)
1.ร่างกายอาจกําลังได้รับเชื้อโรค หรือเกิดโรคจาก จุลชีพก่อโรคที่หลุดเข้าสู่ร่างกาย จึงกระตุ้นให้ต้องเร่ง สร้างจํานวนเม็ดเลือดขาวเพิ่มมากขึ้น
2.อาจเกิดโรคสร้างเม็ดเลือดขาวมากผิดปกติจาก ไขกระดูก (myeloproliferative disorders)
3.อาจกําลังเกิดมะเร็งชนิดใดชนิดหนึ่งก็ได้ เช่น โรค มะเร็งเม็ดเลือดขาว (leukemia)
4.อาจกําลังเกิดจากการได้รับบาดเจ็บ (trauma) เช่น เกิด จากความเครียด หรือริดสีดวงทวาร อุบัติเหตุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia)
เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของ เม็ดเลือดขาว ที่มีการสร้างเม็ดเลือดขาว มากผิดปกติ
ชนิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
(Acute Leukemia)
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรัง (Chronic Leukemia)
อาการของโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว
อาการที่สําคัญของมะเร็งเม็ดเลือดขาว คือ มีไข้ ตัวซีด เหนื่อยง่าย เลือดออก ปวดข้อ หรือปวดกระดูก พบก้อนที่คอหรือในช่องท้อง
การแข็งตัวของเลือด(Coaggulation)
กระบวนการแข็งตัวของเลือดที่แยกเป็น3ช่องทาง
ช่องทางเอกซ์ทรินซิก (extrinsic pathway) เกิดนอกกระแสเลือดโดยเกิดขึ้น ในผนังของ หลอดเลือด
ช่องทางอินทรินซิก (intrinsic pathway) เกิดใน กระแสเลือดโดยกระตุ้นโปรเอ็นไซม์ในกระแส เลือด ทั้งสองช่องมารวมกัน
ช่องทางธรรมดา (common pathway) -ช่อง ทางเอกซ์ทรินซิก เริ่มต้นด้วยการหลั่งแฟกเตอร์
ระบบนํ้าเหลือง( LYMPHATIC SYSTEM)
เป็นท่อที่มี ขนาดใหญ่กว่าหลอดนํ้าเหลืองมีหน้าที่ เชื่อมต่อระหว่างหลอดนํ้าเหลืองกับ หลอดเลือดดํา พบบ่อยที่ ลําคอ รักแร้ และขาหนีบ ทั้งนี้นับรวม ถึงต่อมทอนซิล ม้าม และต่อมไทมัส
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งที่มีต่อมน้ำเหลืองมาจากเม็ดเลือดขาวตัวแก่ในต่อมน้ำหรือเนื้อเยื่อน้ำเหลืองที่มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องเกินไป
มะเร็งต่อมนํ้าเหลือง แบ่งตามลักษณะทาง พยาธิวิทยาเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
มะเร็งต่อมนํ้าเหลืองชนิดฮอดจ์กิน (Hodgkin Lymphoma) มีลักษณะเฉพาะ คือ จะพบ B lymphocyte ที่มีขนาดใหญ่ และผิดปกติ เรียกว่า Reed-Sternberg cells ซึ่งไม่มีในมะเร็งต่อมนํ้าเหลืองชนิด อื่น
มะเร็งตอมนํ้าเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน (Non-Hodgkin Lymphoma)
การรักษามะเร็งต่อมนํ้าเหลือง
1.การเฝ้าติดตามโรค วิธีนี้มักใช้ในโรค มะเร็งต่อมนํ้าเหลืองชนิดเซลล์มะเร็งโตช้า (Indolent)
2.การรักษาด้วยยาเคมีบําบัด (Chemotherapy)
3.การรักษาด้วยแอนติบอดี้จําเพาะ (Monoclonal antibodies)
4.การรักษาด้วยการฉายรังสี (Radiation therapy)
21/04/65