Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case conference - Coggle Diagram
Case conference
-
-
พยาธิสภาพGDM
นิยาม
ความหมาย โรคเบาหวานในสตรีตั้งครรภ์ หมายถึง สตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของการเผาผลาญ คาร์โบไฮเดรต เนื่องจากความไม่สมดุลระหว่างความต้องการและการสร้าง ทำให้ระดับ น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ อาจเป็นก่อนหรือขณะตั้งครรภ์ เนื่องจากร่างกายมีการ ทําลายอินซูลิน โดยรกและฮอร์โมนจากรก ซึ่งจะมีฤทธิ์ต้านอินซูลินทำให้เกิดการเผา ผลาญภายในร่างกายผิดปกติ)
พยาธิ
ชนิด
อาการและอาการแสดง
-
- อาจไม่แสดงอาการชัดเจน
-ทราบได้หลังจากการตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะหรือตรวจพบน้ำตาลในเลือดสูง
-สตรีที่เคยเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์มาก่อน อาจพบอาการ ดังนี้ ปัสสาวะมาก (polyuria) หิวบ่อย (polyphagia) น้ำหนักลด อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย คันตามตัว คันอวัยวะสืบพันธุ์ และติดเชื้อง่าย
-
2.เบาหวานที่วินิจฉัยได้ใยระยะตั้งครรรภ์(GDM)
มักพบหลังอายุครรภ์ 24~28 wk
-GDMA1=ระดับกลูโคสหลังงดอาหารน้อยกว่า 95mg/DL และกลูโคสหลังรับประทานอาหาร 2 ชั่วโมง (2-hour postprandial plasma glucose น้อยกว่า 120mg/dL
-GDMA2 =ระดับกลูโคสหลังงดอาหารมากกว่าหรือเท่ากับ 95mg/dLขึ้นไป และ/หรือระดับกลูโคสหลังรับประทานอาหาร2ชั่วโมง(2-hour-postprandial plasma glucose)มากกว่าหรือเท่ากับ 120 mg/dLขึ้นไป
-
พยาธิสภาพ
ระยะแรกของการตั้งครรภ์ estrogen และ progesterone จากรก มีฤทธิ์กระตุ้น beta cell ของตับ อ่อน ทําให้มีการหลั่ง insulin เพิ่มขึ้น ระดับ FBS ค่ากว่าก่อนตั้งครรภ์
ระยะหลังของการตั้งครรภ์ฮอร์โมนจากรกจะสร้างมากขึ้น มีภาวะต้าน insulin เป็นปัจจัยสําคัญ : HPL ที่เพิ่มขึ้น ร่วมกับ Prolactin, Cortisal, Glucagon ทําให้ความดื้อต่อ insulin มีมากขึ้น (Diabetogenic effect) ร่วมกับความต้องการ insulin ที่เพิ่มมากขึ้น จึงเกิดเป็นเบาหวาน
พยาธิสภาพpreterm
นิยาม
พยาธิสภาพ
ชนิด
สาเหตุและปัจจัยเสริม
สาเหตุ
อาการและอาการแสดง
ลักษณะของการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำาหนดจะเหมือนกับการเจ็บครรภ์จริง คือ มีการหดรัดตัวของมดลูกสม่ำเสมอ มีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
อาจมีอาการปวดหรือไม่มีอาการปวดร่วมด้วย ได้แก่
-ปวดถ่วงท้องน้อยในอุ้งเชิงกราน
-ปวดท้องน้อยคล้ายปวดประจําเดือน
-ปวดหลังสวนล่าง
- ปวดบั้นเอว
-ปวดถ่วง ในช่องคลอด ฝีเย็บและทวารหนัก
- ปวดเกร็งจากการบีบตัวของลำไส้
- ท้องเสีย ถ่ายปัสสาวะบ่อย
-มีมูกปนเลือด หรือมีน้ำคร่ำออกทางช่องคลอด
-
-
-
ปัจจัยที่แก้ไขได้
-การสูบบุหรี่
-การเสพสารเสพติด เช่น โคเคน เฮโรอีน
-ไม่ได้ฝากครรภ์
-ขาดสารอาหาร ภาวะทุพโภชนาการ
-ภาวะซีด (anemia)
-น้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์น้อย (<50 Kg) และส่วนสูงน้อย -การติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
-การติดเชื้อระบบสืบพันธุ์
-ความเครียดสูงหรือเรื้อรัง
-การทํางานหนัก
ปัจจัยที่แก้ไขไม่ได้
-เคยคลอดก่อนกําหนดในครรภ์ก่อน
-มีประวัติการแท้ง
--อายุ <18 ปี หรือ >35 ปี
-เศรษฐานะทางสังคมที่ไม่ดี
-ปากมดลูกบาดเจ็บหรือผิดปกติ เช่น ปิดไม่สนิท คอมดลูกสั้น <25 มม. (เมื่อ GA<30 wks)
--มีความผิดปกติที่มดลูกหรือมีเนื้องอก
--การหดรัดตัวของมดลูกมากผิดปกติ
-มดลูกยืดขยายมาก ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ
--ภาวะเลือดออกก่อนคลอด จากภาวะรก เกาะต่ำ หรือรกลอกตัวก่อนกำหนด
--ครรภ์แรก
-ทารกพิการแต่กำเนิด ทารกตายในครรภ์
1.การคลอดก่อนกําหนด (preterm labor)
การคลอดที่มีอายุครรภ์ตั้งแต่ 28 สัปดาห์และก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ หากทารก าหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม เรียกว่า ทารกน้ำหนักตัวแรกคลอ น้อย (low birth weight)
- ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนดคุกคาม (threatened preterm labor)
ภาวะที่เจ็บครรภ์คลอดที่เกิดขึ้นก่อนอายุครรภ์37 สัปดาห์ โดยมีการหดรัด ตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 1 ครั้งทุก 10 นาที โดยใช้เวลา ประเมินอย่างน้อย 30 นาที แต่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
-
การเจ็บครรภ์คลอดที่เกิดขึ้นในช่วงอายุครรภ์ก่อน 37 สัปดาห์ นับจากLMP UCสม่ำเสมอ 4 ครั้ง ใน 20 นาที หรือ 8 ครั้ง ใน 1 ชั่วโมง + DIL ≥ 1 cm หรือ EFF ≥ 80%
-