Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 แนวคิดในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร เพื่อการจัดการทรัพยากรสู่ค…
หน่วยที่ 2 แนวคิดในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เพื่อการจัดการทรัพยากรสู่ความมั่นคงทางอาหาร
1. แนวคิดของการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.2 แนวคิดของการพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร
ความเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร
ส่งเสริมทำเกษตรตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ส่งเสริมการเกษตรการพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ
ความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ในภาคเกษตร
เศรษฐกิจการเกษตรสีเขียว
ความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างประเทศ
การพัฒนาบุคลากรด้านการเกษตร
1.3 แนวคิดของการจัดการทรัพยากรการเกษตร
การจัดการทรัพยากรน้ำ
การจัดการทรัพยากรดิน
การจัดการทรัพยากรป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ
1.1 แนวคิดของการส่งเสริมการเกษตร
เพื่อบริการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการและเทคโนโลยี
เพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิต
เพื่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนการเกษตร
เพื่อเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพการผลิต
เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ทันสมัย
เพื่อพัฒนาให้กลุ่มเป้าหมายเป็นกำลังสำคัญ
2. การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรเพื่อการเกษตร
2.2 การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตร
การบำรุงรักษาซ่อมแซมระบบชลประทาน
ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วม
การพัฒนาทรัพยากรน้ำใต้ดิน
ให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการ
การคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังที่กล่าวไว้ตอนต้น
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตรภายในพื้นที่ของเกษตรกร
การจัดการที่ เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่
การผันน้ำระหว่างแม่น้ำ
2.3 การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้เพื่อการเกษตร
วนเกษตรแบบบ้านสวน
วนเกษตรที่มีต้นไม้แทรกในไร่นาหรือทุ่งหญ้า
วนเกษตรที่มีต้นไม้ล้อมไร่นา
วนเกษตรที่มีแถบต้นไม้และพืชผลสลับกัน
วนเกษตรใช้พื้นที่หมุนเวียนปลูกไม้ยืนต้น พืชผล และเลี้ยงสัตว์
2.1 การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรดินเพื่อการเกษตร
การป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน
การป้องกันการแพร่กระจายของแหล่งดินที่มีปัญหาไปยังพื้นที่อื่นๆ
การปลูกพืชบำรุงดิน
3. การจัดการสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
เพื่อความมั่นคงทางอาหาร
3.1 การจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
การลดปริมาณ ณ แหล่งกำเนิด
การบำบัด
การนำกลับมาใช้ใหม่
การคัดแยกและการทำให้ตกตะกอน
3.2 การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความมั่นคงทางอาหาร
สิทธิการถือครองที่ดิน
การได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกและปัจจัยสนับสนุนการผลิต
ทางการเกษตร
การสร้างหลักประกันด้านผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการผลิตทางการเกษตร
การดำรงไว้ซึ่งวิถีชีวิตและองค์ความรู้ภูมิปัญญา
รูปแบบการบริหารจัดการทางการเกษตร