Non-reassuring FHR
ข้อมูลส่วนตัว
หญิงตั้งครรภ์อายุ 33 ปี G1P0A0 GA 39 wks by U/S
อาการสำคัญ : มีน้ำเดิน 2 hr ก่อนมา รพ.
พยาธิสภาพ
ภาวะที่ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย จึงทำให้ทารกแสดงอาการพร่องออกซิเจนหัวใจเต้นเร็วหรือช้ากว่า baseline
รูปแบบการเต้นของหัวใจทารก
- FHS Basline
• ปกติ : 110-160 bpm
• Tachycardia : baseline FHR > 160 bpm
• Bradycardia : baseline FHR < 110 bpm FHS Variability : อัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง
• Absent variability : ไม่มีความแปรปรวนของ FHS
• Minimal variability : มีการเปลี่ยนแปลงน้อยกว่าเท่ากับ 5 bpm
• Moderate variability : มีการเปลี่ยนแปลง 6-25 bpm
• Marked variability : มีการเปลี่ยนแปลง > 25 bpm
เมื่อมดลูกหดรัดตัว มี 2 แบบ
Acceleration : การเพิ่มขึ้นของ FHS
• อายุครรภ์ > 32 สัปดาห์ FHS มากกว่าหรือเท่ากับ 15 bpm นานกว่า 15 วินาที
• อายุครรภ์ < 32 สัปดาห์ FHS มากกว่าหรือเท่ากับ 10 bpm นานกว่า 10 วินาที
Deceleration แบ่งเป็น 4 แบบ
• Early deceleration
การลดลงของ FHS อย่างช้า ๆ ค่อยเป็นค่อยไปและ
กลับคืนสู่ baseline อย่างช้า ๆ สัมพันธ์กับการ
หดรัดตัวของมดลูก โดยจุดตั้งต้นของการลดลงของ
FHS จุดต่ำสุด และการกลับคืนสู่ baseline จะตรง
กับจุดเริ่มต้นของการหดรัดตัวของมดลูก จุดสูงสุด
และการคลายตัวของมดลูกกลับคืนสู่ baseline
ตามลำดับ
• Late deceleration :
การลดลงของ FHS อย่างช้า ๆ ค่อยเป็นค่อยไปและ
กลับคืนสู่ baseline อย่างช้า ๆ สัมพันธ์กับการ
หดรัดตัวของมดลูก โดยจุดตั้งต้นของการลดลงของ
FHS จุดต่ำสุด และการกลับคืนสู่ baseline จะเกิด
ช้ากว่าจุดเริ่มต้นของการหดรัดตัวของมดลูก จุดสูงสุด
และการคลายตัวของมดลูกกลับคืนสู่ baseline
ตามลำดับ
• Variable deceleration : กา รลดลงของ FHS อย่างฉับพลัน โดย FHS จะลดลงมากว่าหรือเท่ากับ 15 bpm คงอยู่นานมากกว่าหรือเท่ากับ 15 วินาที และคงอยู่นานไม่เกิน 2 นาที โดยสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกหรือไม่ก็ได้
• Prolonged deceleration : การลดลงของ FHS ต่ำกว่า baseline โดยมีการลดลงมากกว่าหรือเท่ากับ 15 bpm และคงอยู่นาน 2 นาทีหรือมากกว่า แต่ไม่เกิน 10
Sinusoidal pattern : การเปลี่ยนแปลงของ baseline FHS เป็นรูป sine wave ลักษณะขึ้นลงคลายคลื่น ไม่มี variability
click to edit
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต : ปฏิเสธ
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : ปฏิเสธ
ประวัติการผ่าตัด : ปี 2541 ผ่าตัดไส้เลื่อน
ประวัติการแพ้ยาและอาหาร : ปฏิเสธ
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 52 kg. ส่วนสูง 163 cm.
BMI ก่อนการตั้งครรภ์ = 20.3 / TWG = 21.2 kg.
อาการแรกรับ
BT : 36.6 องศาเซลเซียส
PR : 88 bpm
RR : 18 bpm
BP : 134/88 mmHg
O2 sat = 98%
Pain score = 4 คะแนน
การพยาบาลที่สำคัญ
1.ทารกในครรภ์เสี่ยงพร่องออกซิเจน
2.มารดาเสี่ยงติดเชื้อเนื่องจากถุงน้ำคร่ำรั่ว
3.มารดาวิตกกังวลต่อการเจ็บป่วยของทารกในครรภ์
การดูแล
- กรณีได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ให้หยุดให้ทันที
- ดูแลให้มารดานอนตะแคงซ้าย เพื่อลดการกดทับที่บริเวณเส้นเลือด Inferior vena cava เพื่อให้เส้นเลือดสามารถไหลเวียนเพิ่มขึ้นที่มดลูกและรก
- ประเมิน FHS และ Uterine Contraction ทุก 1 ชม. เพื่อประเมินภาวะ fetal distress
- ถ้ามารดามีอัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้ง/นาที และอัตราการหายใจมากกว่า 24 ครั้ง/นาที ให้มารดา On O2 cannula 5 LPM ตามแผนการรักษาของแพทย์
- ดูแลให้ IV Fluid ตามแผนการรักษา
- ตรวจทางช่องคลอด เพื่อประเมินภาวะ prolapsed cord
24 ก.พ. 2565
- 02.00 น. : I=5’-7’ D=30” ++
DIL1 cm, EFF 80%, -1 - 02.30 น : I=5’-7’ D=30” ++
- 03.30 น. : I=7’ D=30” ++
- 04.30 น. : I=5’-7’ D=30” ++
- 05.30 น. : I=5’-7’ D=30” ++
DIL 3 cm, EFF 50%, -1 - 06.30 น. : I=3’-15’ D=30” ++
DIL 3 cm, EFF 100%, -1 - 06.40 น. : I=3’-30’ D=30” ++
ทารกในครรภ์มีภาวะ non-reassuring FHS แพทย์จึง plan C/S เพื่อป้องกันทารกเสียชีวิตในครรภ์
FHS
- 02.00 น. = 144 bpm
- 02.30 น. = 148 bpm
- 03.30 น. = 140 bpm
- 04.30 น. = 136 bpm
- 05.30 น. = 144 bpm
- 06.30 น. = 100-136 bpm
- 06.40 น. = 110-130 bpm
ผลการตรวจครรภ์ทางหน้าท้อง
- Fundal grip = ¾ เหนือสะดือ
- Umbilical grip = Large part Right side, FHS = 144 bpm
- Pawlik’s grip = Vertex, OR
- Bilateral grip = HE
ผลการตรวจทางช่องคลอด
PV : cervix dilate 1 cm., effacement 80%, Station -1, ML (clear)
ผลการตรวจ UC แรกรับ
Interval 5’-7’, duration 30”,Intensity ++
การแปรผล FHR
Category I ต้องมีองค์ประกอบต่อไปนี้ครบทุกข้อ
- Baseline FHR 110-160 bpm
- Baseline FHR variability : moderat
- ต้องไม่มี late หรือ variable deceleration
- Early deceleration : อาจมีหรือไม่มีก็ได้
- Acceleration : อาจมีหรือไม่มีก็ได้
Category II รวม FHR tracing ที่ไม่จัดอยู่ใน Category I หรือ Category II
ตัวอย่างของ FHR tracing ที่จัดเป็น Category Il ได้แก่
- Baseline FHR
• Bradycardia ที่ยังมี variability
• Tachycardia - Baseline FHR variability
• Minimal baseline variability
• Absent baseline variability ที่ไม่มี recurrent deceleration
• Marked baseline variability - Acceleration
• ไม่มี acceleration เมื่อกระตุ้นทารกด้วย digital scalp stimulation หรือ vibroacoustic stimulation - Periodic or episodic deceleration
• Recurrent variable deceleration ที่ยังมี minimal หรือ moderate baseline variability
• Prolonged deceleration ที่นานเกิน 2 นาที แต่ไม่ถึง 10 นาที
• Recurrent late deceleration ที่มี moderate baseline variability
• Variable deceleration ที่มีลักษณะ slow return to baseline, overshoot หรือ shoulder
Category III อาจมีลักษณะเหมือนข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
- Absent baseline FHR variability ร่วมกับข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
• Recurrent late deceleration
• Recurrent variable deceleration
• Bradycardia - Sinusoidal pattern