Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Preeclampsia, ภาวะความดันโลหิตสูงที่เกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ (Gestational…
Preeclampsia
-
ยาที่ใช้ในการรักษา
แอสไพริน (aspirin)
ขนาดต่ำ ๆ (60-80 มก.) อาจช่วยลดอุบัติการณ์ของ PIH ลงเล็กน้อย แต่ไม่มีผลชัดเจนต่อการตายปริกำเนิด ส่วนใหญ่ไม่แนะนำให้ใช้ป้องกันสตรีตั้งครรภ์ปกติทั่วไป แต่อาจเลือกให้เพื่อป้องกันในรายที่มีความเสี่ยงสูงนั้นอาจเลือกให้เป็นราย ๆ ไป
แพทย์จะพิจารณาให้ยาแอสไพรินระหว่างอายุครรภ์ 12-16 สัปดาห์ จนถึง 36 สัปดาห์ เพื่อลดความเสี่ยง โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
-
-
แคลเซียม (calcium)
การรับประทานแคลเซียมกลูโคเนตวันละ 1.5-2 กรัม ในครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ อาจช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิด PIH ลงเล็กน้อย หรือลดความรุนแรงลง แต่ไม่แนะนำในครรภ์ทั่วไป อาจพิจารณาเลือกให้บางรายที่มีความเสี่ยงสูง
-
-
การวินิจฉัย
• ความดันโลหิต systolic 140 มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่า หรือ ความดันโลหิต diastolic 90 มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่าเมื่ออายุ ครรภ์เกิน 20 สัปดาห์ขึ้นไป ในสตรีที่เคยมีความดันโลหิตปกติ และ
• Proteinuria คือ มีprotein 300 มิลลิกรัมหรือมากกว่าในปัสสาวะท่ี เก็บ 24 ชั่วโมง หรือ protein:creatinine ratio ในปัสสาวะ 0.3 หรือมากกว่า หรือการสุ่มตรวจปัสสาวะโดยใช้แถบตรวจปัสสาวะ (dipstick) พบมีระดับ 1+ หรือมากกว่า (ใช้เฉพาะกรณีท่ีไม่สามารถตรวจด้วยวิธี quantitative )
-
ในสตรีท่ีความดันโลหิตปกติมาก่อน (new-onset) ร่วมกับการ ตรวจพบ new-onset ของกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้
• Thrombocytopenia:เกล็ดเลือดต่ำกว่า100,000/ลูกบาศก์ มิลลิเมตร
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ภาวะความดันโลหิตสูงที่เกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ (Gestational hypertensive disorders หรือ Pregnancy -induced hypertension (PIH )
คือ ภาวะความดันโลหิตสูงที่ เกิดขึ้นโดยตรงจากการตั้งครรภ์ ในระยะตั้งครรภ์จนกระทั่งถึงระยะหลังคลอด และหายไป ภายใน 12 สัปดาห์หลัง
คลอด
-
2.Pre-eclampsia
คือ ภาวะแทรกซ้อนในระหว่างการตั้งครรภ์ ส่วนใหญ่เกิดในช่วงที่ครรภ์มีอายุ 20 สัปดาห์ขึ้นไป หรือในบางรายอาจพบระหว่างคลอด และหลังคลอดได้ โดยที่มีภาวะของความดันโลหิตสูงร่วมกับพบโปรตีนรั่วในปัสสาวะ ไตอาจทำงานผิดปกติ เกล็ดเลือดต่ำ การทำงานของตับผิดปกติ ขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรง ส่งผลให้คุณแม่และทารกในครรภ์เกิดความเสี่ยงเรื่องชัก และอาจทำให้คลอดก่อนกำหนด
เมื่อ GA > 20 wks. ร่วมกับการตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ ปริมาณโปรตีน > 1 gm.% หรือ 1-2 บวก ทดสอบโดยใช้ Urine reagent strips หรือ โปรตีน > 0.3 gm.% จาก Urine 24 ชั่วโมง และ/หรือมีอาการบวม กดบุ๋ม
1.Mild pre - eclampsia
ความดันโลหิตสูงก่อนชัก ระดับเล็กน้อยมีค่า Diastolic 90- <110 mm.Hg, หรือ Systolic 140 - < 160 mm.Hg. ร่วมกับมีโปรตีนในปัสสาวะ < 5 gm.% หรือ 1- 2บวกในปัสสาวะที่เก็บ24ชั่วโมง และ/หรือ อาการบวมกดบุ๋ม
2 Severe pre - eclampsia
-
- BP. ค่าdiastolic > 110 mm.Hg. หรือ Systolic > 160 mm.Hg.
-
- ปัสสาวะใน 24 ชั่วโมง < 400-500 ml.
หรือ < 100 ml. ใน 4 ชั่วโมง
- อาการทางสมองและการมองเห็น เช่น ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ปวดศีรษะ จุดบอดที่ลานสายตา เห็นภาพไม่ชัด
-
-
- มีพยาธิสภาพที่หลอดเลือดและหัวใจ
-
- มีแนวโน้มที่จะเป็นเกิดภาวะ HELLP syndrome ได้ในระยะต่อมา
- ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
คือ การทีมีภาวะ Severe pre - eclampsia และมีอาการชัก เกร็ง ร่วมด้วย อาการชักจะต้องไม่มีสาเหตุจากภาวะอื่นๆ เช่น ลมบ้าหมู โรคทางสมอง
-
-
-
ยา Magnesium sulfate
การพยาบาลหลังให้ยา
-
- ดูแลความสุขสบายของผู้ป่วย เช่น เช็ดตัว ประคบด้วยผ้าเย็น เพื่อบรรเทา อาการร้อนวูบวาบตามร่างกาย
- ประเมินอาการ magnesium toxicity เช่น absent DTR, RR < 14 /min, Urine น้อยกว่า 25 ซีซี/ชั่วโมง
- Monitor intake and output โดยเฉพาะรายที่มี decreased renal function
-
-
- Monitor magnesium level (Therapeutic serum level 4.8-8.4 mg/dl)
8.เฝ้าติดตามอัตราการหายใจ, deep tendon reflex และ urine output ทุก 1-4 ชั่วโมง หากมี อาการแสดงของการเป็นพิษจาก Magnesium sulfate ให้พิจารณาหยุดยา
-ตรวจ deep tendon reflex โดยดู knee jerk reflex ทุก 4 ชั่วโมง ถ้า negative ให้ทำbicep jerk reflex และถ้ายัง negative ควรพิจารณาปรึกษาแพทย์เพื่อหยุดยา
-
-
Loading dose
20% sulfate inj.ในขนาด 4 กรัม (20มล.)ฉีดเข้าหลอดเลือดดำช้าๆ หากผู้ป่วยมีน้ำหนักตัวมากให้พิจารณาใช้ยาในขนาด 6 กรัม (30 มล.)
-
Maintenance dose
ผสม 50% magnesium sulfate inj. 80 มล. ใน D5W ปริมาตร 920 มล. เขย่าให้เข้ากัน เเล้วฉีดเข้าหลอดเลือดดำในอัตราเร็ว 50 ml/hr หรืออาจใช้ 4% magnesium sulfate in D5W 1000 ml แทนในกรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ serum creatinine มากกว่า1.5 mg/dl ให้ลดอัตราเร็วในการหยดยาลงมาเป็น 25 ml/hr
-
ยาที่ใช้ในการรักษา
Nursing intervention
-
- จัดท่านอนศีรษะสูง
- เฝ้าระวังและประเมินอาการและอาการแสดงของ CHF ในระยะหลังคลอดทันที
- ประเมิน V/S และ obs Intake/Output
- ป้องกันการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด (PPH)
- การดูแลให้ Oxytocin ตามแผนการรักษา
- ประเมิน UC
- กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะ
- ประเมิน vaginal tear, hematoma
- ป้องกันการเกิด Thromboembolism
- กระตุ้น Early Anbulation
- การออกกำลังกาย Kegel exercise
- แนะนำการรับประทานอาหารที่มีอาหารกากใยสูง ดื่มน้ำให้สะอาด
Nursing intervention
-
- สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด ได้แก่ ระดับความรู้สึก อาการเลือดออกตามไรฟัน หรือจุดต่างๆของร่างกาย ปัสสาวะสีโค้ก V/S ทุก 5 นาทีรายงานแพทย์
- การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ต้องระวังกล้ามเนื้อบวมช้ำ สังเกตการแข็งตัวของเลือดด้วย ควรใช้แรงกดบริเวณฉีดยา เพื่อช่วยลดการแตกของเม็ดเลือดแดง หรือเลือดไหลไม่หยุด เมื่อพบว่ามีอาการรุนแรงขึ้น ต้องงดฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อให้เปลี่ยนเป็นฉีดเข้าเส้นเลือด
- ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการด่วน เพื่อประเมินช่วยให้แพทย์วินิจฉัยโรคได้
Nursing intervention
-
- ดูแลให้คำแนะนำเรื่องการรับประทานอาหารที่มีเกลือต่ำ
- ดูแลให้นอนตะแคงซ้ายพักบนเตียง
- ประเมินความดันโลหิต น้ำหนักตัว อาการบวม
- จำกัดน้ำตามแผนการรักษา และจดบันทึกสารน้ำเข้าออก
- ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
Nursing intervention
-
- การซักประวัติอย่างละเอียดตั้งแต่ฝากครรภ์ ได้แก่
ประวัติครรภ์เป็นพิษในครั้งก่อน ประวัติการรับประทานอาหารรสเค็มจัด ประวัติการคลื่นไส้อาเจียนที่มากกว่าปกติในระหว่างการตั้งครรภ์ และประวัติการดิ้นของทารกในครรภ์ เป็นต้น
- ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการรับประทานอาหารโซเดียมต่ำ
- นัดติดตามอาการขณะตั้งครรภ์
-
-
62102371 นางสาวซัลวาตี มูดอ
62102389 นางสาวซารีนา อาบูบากา
62102611นางสาว ฐิติชญา หนูทอง
62105184 นางสาว นูรสมานี เจะลง
จัดทำโดย
นางสาวซัลวาตี มูดอ 62102371
นางสาวซารีนา อาบูบากา 62102389
นางสาวฐิติชญา หนูทอง 62102611
นางสาวณัฏฐณิชา ชูเนตร 62102777 นางสาวนิภาภรณ์ มีคำ 62105051
นางสาวนูรสมานี เจะลง 62105184 นางสาวพันธุ์ทิพย์ อัตรักษ์ 62115019
นางสาวพัชรี ชุนเซียง 62115001