Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการทัศน์หลักทางการพยาบาล - Coggle Diagram
กระบวนการทัศน์หลักทางการพยาบาล
ประโยชน์ของทฤษฎีต่อการพยาบาล
• อธิบายเป้าหมายเเละเหตุผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผู้รับบริการ • เป็นแนวทางในการนำกระบวนการพยาบาล มาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
• เป็นหลักเกณฑ์ในการวัดคุณภาพทางการพยาบาล
• อธิบายคำศัพท์ทางการพยาบาลให้เข้าใจตรงกันในทีมสุขภาพ
• แสดงถึงความเป็นเอกสิทธิในวิชาชีพการพยาบาล (Autonomy)
• แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วย / ผู้รับบริการกับพยาบาลและการมองเห็นบทบาทของพยาบาลชัดเจนขึ้น
การจำแนกทฤษฎีตามลักษณะการนำไปใช้
ทฤษฎีเชิงนิรนัย (Deductive nursing theories) เ เป็นการพัฒนาทฤษฎีจากการนำศาสตร์ต่างๆมาสังเคราห์ เช่น ทฤษฎีการพยาบาลของคิง
ทฤษฎีเชิงอุปนัย (Inductive nursing theories)เป็นการพัฒนาทฤษฎีที่เกิดจากการปฏิบัติการพยาบาลมาเพื่อประมวลสรุปเป็นทฤษฎี
มโนทัศน์พื้นฐานทางการพยาบาล
• หมายถึง ความรู้ ความคิด ความเชื่อ ในสิ่งที่เป็น พื้นฐานของการพยาบาล
• ประกอบด้วยความรู้พื้นฐานในมโนมติของคน สิ่งเเวดล้อม สุขภาพ เเละการพยาบาล
• พยาบาลจะต้องศึกษาเพื่อที่จะเป็นพื้นฐานในการปฏิบัติการพยาบาลของตน
มโนมติของสิ่งแวดล้อม (Environment)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
สิ่งแวดล้อมทางเคมี
สิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
•ประกอบด้วย สิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม •สิ่งเเวดล้อมทางสังคมที่เป็นรูปธรรมที่สำคัญ คือบุคคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน • หน่วยของสังคมที่สำคัญที่สุดคือครอบครัว
• สารเคมีทุกชนิด รวมทั้งอาหาร ยา • ซึ่งอาจมาจากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
• สิ่งมีชีวิตต่างๆทั้งพืช และสัตว์ที่มีขนาดเล็กจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น จนถึงพืชขนาดใหญ่โตกว่าคน
• ตัวอย่างสิ่งเเวดล้อม ได้แก่ แบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต ต้นพืชต่างๆ วัว ควาย สุนัข
• หมายถึง สิ่งเเวดล้อมภายนอกที่ไม่มีชีวิต เช่น ความร้อน เเสง เสียง รังสี อากาศ ดิน น้ำ ลม
มโนมติของสุขภาพ
สุขภาพ (Health)
ความเจ็บป่วย ความเจบ็ ป่วย(illness)
• หมายถึง สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ปกติทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
• ซึ่งอาจเปลี่ยนด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายๆด้านรวมกัน
• ทำให้บุคคลทำหน้าที่บกพร่องหรือทำหน้าที่ได้น้อยลงกว่าปกติ
• เป็นภาวะที่บุคคลรู้สึกว่าสุขภาพไม่ดี ความเจ็บป่วยอาจไม่เกี่ยวข้องกับการเป็นโรคก็ได้
• ความเจ็บป่วยอาจมีสาเหตุเริ่มแรกจากความผิดปกติของอวัยวะต่างๆในร่างกาย
• การบ่งชี้ถึงภาวะความเจ็บป่วยและการมีสุขภาพที่ดีนั้นบางครั้งอาจไม่เด่นชัด ยกเว้นในรายที่เจ็บป่วยมากๆมีอาการรุนแรง
• บุคคลที่มีความเจ็บป่วยไม่ว่าจะเป็นทางด้านใดด้านหนึ่งจะมีผลกระทบด้านอื่นๆตามมา
• ในโลกนี้น้อยคนนักที่จะมีสุขภาพที่ดีมาก คือ ครบทั้งกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ตลอดเวลา
• คนส่วนมากมักจะมีความบกพร่องทางสุขภาพบ้าง ไม่มากก็น้อย
•แต่ถ้าหากบุคคลนั้นพอใจในสภาพการณ์ที่เป็นอยู่และสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุขก็ถือว่ามีสุขภาพดีอยู่
• สุขภาพมีลักษณะเป็นพลวัตรและต่อเนื่อง แม้จะมีการแบ่งระดับสุขภาพเป็นระดับๆต่างกัน ภาวะสุขภาพของคนก็มีความต่อเนื่องกัน และเเยกเเยะแต่ละระดับออกจากกันได้ค่อนข้างยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาวะสุขภาพดี และเจ็บป่วยเล็กน้อย
ไนติงเกล (Nightingale, 1860) หมายถึง สภาวะที่ปราศจากโรค และสามารถใช้พละกำลังของตนเองได้เต็มความสามารถ
องค์การอนามัยโลก (WHO, 1947) หมายถึง สภาวะที่มีความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขไม่ใช่เพียงแต่ปราศจากโรคและความพิการเท่านั้น
สุขภาพดี หมายถึง สภาวะที่ร่างกายมีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ปราศจากโรคเเละความพิการใดๆ
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ ในมาตราที่3 หมายความว่า สุขภาวะที่สมบูรณ์และเชื่อมโยงกัน เป็นองค์รวมอย่างสมบูรณ์และเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุลทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม
มโนมติของคน (Man)
คนมีความต้องการภาวะสมดุล หรื่อภาวะปกติ
5.1 ความต้องการดำรงภาวะสมดุล หรือภาวะปกติ ความต้องการดำรงภาวะสมดุล (Homeostasis) ประกอบด้วยความต้องการในระดับที่ไม่รู้ตัวเป็นไปโดยอัตโนมัติและในระดับที่รู้ตัว
5.2ความต้องการการปรับสู้ภาวะสมดุล เมื่อคนอยู่ในภาวะเสียสมดุลหรือต่างจากปกติคนจะพยายามปรับสู่ภาวะสมดุลให้เร็วที่สุด โดนกลไกลการปรับสู่ภาวะสมดุล
คนมีความต้องการพื้นฐาน
คนมีพัฒนาการ
• การพัฒนาการเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพหรือคุณลักษณะของบุคคลแต่ละคนในด้านต่างๆ
• การพัฒนาจะเป็นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ เกิดจนถึงวัยชรา
• การพัฒนาการของคนแบ่งออกได้เป็น ด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์ ด้านคุณธรรม
• การพัฒนาการในแต่ละด้านจะมีความต่อเนื่องกันและเป็นลำดับขั้น การพัฒนาการในแต่ละด้าน แต่ละขั้นตอนจะมีลักษณะเฉพาะ
• การพัฒนาการด้านต่างๆ ของคนในแต่ละวัย จะมีความผสมผสานและอาจมีผลกระทบซึ่งกันและกัน
• ในแต่ละบุคคลจะมีความต้องการทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม
• ความต้องการของคนแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ตามทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์ มีดังนี้
3.1 ความต้องการทางด้านร่างกายหรือสรีระ (Physical needs)
3.2 ความต้องการความปลอดภัย (Safety and security)
3.3 ความต้องการความรัก ความผูกพัน (Affiliation)
3.4 ความต้องการความภาคภูมิใจและความมีศักดิ์ศรี (Self-esteem)
3.5 ความต้องการความพอใจตนเอง (Self-actualization)
คนเป็นระบบเปิด
• คนเป็นหน่วยมีชีวิตที่จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งเเวดล้อมตลอดเวลา
• มีการรับจากสิ่งเเวดล้อม และมีการให้ /ตอบสนองแก่สิ่งเเวดล้อม
• การรับและการให้เกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม โดยมีความสัมพันธ์กัน
• บางครั้งการให้หรือการรับ อาจไม่ได้เกิดต่อเนื่องโดยทันที
คนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันแต่มีความเป็นปัจเจกบุคคล
7.คนมีสิทธิของตน
คนมีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเอง
• คนทุกคนมีความสามารถที่จะช่วยเหลือตนเองในด้านต่างๆเช่น การช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวัน การแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง
• แต่ละบุคคลไม่ว่าในภาวะที่เป็นเด็ก/ผู้ใหญ่ในบทบาท/ตำแหน่งใดก็ตามจะมีสิทธิเเห่งตนตามภาวะดำรงอยู่
เช่น สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง
• คนแต่ละคนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันทุกคน • คนแต่ละคนมีลักษณะเฉพาะของตนเอง เรียก ความเป็นปัจเจกบุคคล
คน ประกอบด้วย
1.1 กายหรือร่างกาย ประกอบด้วยส่วนของโครงสร้างและหน้าที่การทำงานของรางการของบุคคล
1.2 จิตหรือจิตใจ จิตใจของคนประกอบด้วย 3 ส่วนย่อย คือ
1.2.1 อารมณ์และความรู้สึก
1.2.2 จิตวิญญาณ (Spirit)
1.2.3 สติปัญญา หรือความคิด
1.3 สังคม
• คือ ส่วนของคนที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นๆ รอบตัว
• คนจะเกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นด้สยบทบาท หน้าที่ของตนที่มีต่อบุคคลอื่น แต่ละบุคคลจะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นอย่างไรนั้นขึ้นกับตำแหน่ที่ตนดำรงอยู่ในขณะนั้นเป็นสำคัญ
• สัมพันธภาพแต่ละบุคคล
• บทบาทและสัมพันธภาพมีส่วนสัมพันธ์กัน
มโนมติของการพยาบาล (Nursing)
การพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้รับบริการ
การพยาบาลที่จะช่วยเหลือให้คนมีภาวะสุขภาพดี หรือปรับสู่ภาวะสุขภาพดี
การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
• ในทุกวัยตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยสูงอายุ ในทุกภาวะสุขภาพตั้งแต่สุขภาพดีจนป่วยถึงขั้นหนัก/วิกฤต
• เพื่อให้คนสามารถดำรงภาวะสุขภาพไว้/ช่วยให้คนกลับสู่ภาวะสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วย
• การช่วยเหลือของพยาบาล อาจเป็นการช่วยเหลือเป็นรายบุคคล หรือครอบครัว หรือชุมชน
• ลักษณะการช่วยเหลือของพยาบาล สมาคมพยาบาลอเมริกัน เป็นการวินิจฉัยและให้การรักษาปฏิกิริยาโต้ตอบที่มีต่อภาวะที่มีปัญหาสุขภาพหรือเสียงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพ
•คำว่ารักษษทางการพยาบาล คือกิจกรรมที่พยาบาลปฏิบัติเเละช่วยเหลือด้านพฤติกรรมของบุคคลที่เปลี่ยนไปจากเดิม
2.1การส่งเสริมสุขภาพ
• การช่วยเหลือที่ช่วยให้คนมี่สุขภาพดีกว่าที่เป็นอยู่ เช่น การให้คำแนะนำเพื่อให้คนรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับตนเอง
• ส่วนใหญ่เป็นการช่วยในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพ หรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2.2 การป้องกันโรค
• การช่วยเหลือให้คนไม่เจ็บป่วยด้วยโรคหรือความเจ็บป่วยที่ป้องกันได้
• เพื่อให้คนดำรงความมีสุขภาพที่ดีไว้ได้
•การป้องกันโรคแบ่งออกเป็น 3 ระดับ
2.3 การดูเเลรักษา
• การที่บุคคลคนหนึ่งต้องเปลี่ยนสถานภาพจากที่สุขภาพดีหรือสุขภาพปกติมาสู่การเป็นผู้ป่วย ตัดสินใจอยู่ภายใต้การดูเเลของเเพทย์และพยาบาล และให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามคำแนะนำ
• ผู้ป่วยจะต้องปรับวิธีการดำเนินชีวิตใหม่ ต้องพึ่งพาผู้อื่นมากขึ้น
1 more item...
การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
• จากบทบาทและวิธีการปฏิบัติของพยาบาลที่มีลักษณะจำเพาะ • ในการช่วยเหลือผู้รับบริการทั้งที่เป็นรายบุคคล ครอบครัว และชุมชนทำให้การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
• ถ้าขาดการพยาบาล อาจส่งผลให้คนไม่สามารถดำรงภาวะสุขภาพดีได้
• กระบวนการพยาบาลเป็นกระบวนการที่เป็นพลวัตรต่อเนื่องสัมพันธืกันอยู่ตลอดเวลา
• กระบวนการพยาบาลจะสิ้นสุดก็ต่อเมื่อความต้องการของผู้รับบริการได้รับการตอบสนองหรือปัญหาได้รับการแก้ไข
กระบวนทัศน์ ( Paradigm )
ทฤษฎีทางการพยาบาล ( Nursing Theory )
หมายถึง แก่นสาระความรู้ของวิชาชีพพยาบาล ซึ่งมุ่งอธิบายธรรมชาติของคน สิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อบุคคล ภาวะสุขภาพ ความเจ็บป่วยของบุคคล โดยมีเป้าหมายของการพยาบาลเเละกิจกรรมการพยาบาล (Fitzpatrick & Whall , 1989 )
MetaparadigM
กรอบแนวคิด (ConCeptual fraMework / Model )
หมายถึง กลุ่ม ของมโนทัศน์ที่สัมพันธ์กันเป็นภาพรวมของปรากฏการณ์หรือความจริงที่ช่วยให้เห็นจุดเน้นของความคิด เปรียบเสมือนร่มโดยภายใต้ร่มประกอบด้วยทฤษฎีต่างๆและครอบคลุมกับปรากฎการณ์อย่างกว้างขวาง และมีความเป็นนามธรรมสูง
หมายถึง กรอบ ขอบเขต หรือโครงสร้างทางความคิด หรือมโนมติในภาพรวมกว้างๆของศาสตร์ต่างๆซึ่งจะประกอบด้วย มโนทัศน์ของศาสตร์สาขสนั้นๆรวมทั้งมีการกำหนดลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์เหล่านั้นด้วย
กระบวนการทัศน์ทางการพยาบาล ประกอบด้วย
• Person
• Health
• Environment
• Nursing
หมายถึง กรอบการมองเห็นหรือกรอบเค้าโครงเเนวคิด หรือเเบบอุดมคติ หรือปรัชญาที่เป็นที่ยอมรับในกลุ่มวิชาชีพซึ่งจะให้ข้อตกลงเพื่อเป็นเเนวทางปฏิบัติ วิจัย เเละสร้างความเข้าใจในศาสตร์นั้นเป็นแนวเดียวกัน
พัฒนาการของ ทฤษฎีการพยาบาล
1 ระยะก่อนปี ค.ศ 1960
• เป็นยุคที่พัฒนาต่อเนื่องจากงานเขียนของไนติงเกล
• พัฒนาพื้นฐานของทฤษฎีจากแนวคิดจิตวิทยา สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์
• ค.ศ 1952 มีการทำวิจัยทางการพยาบาลเกิดเขึ้น
• ค.ศ.1950 Environmental Theory : Nightingale
• ค.ศ.1952 Interpersonal Relations in Nursing : Hildegard Peplau
• ค.ศ.1955 Principles and Practice of Nursing : Virginia
Henderson
ระยะปี ค.ศ 1960-1970
• ค . ศ . 1 9 6 0 F a y e A b d e l l a h พัฒนากลุ่มเป้าหมาย ทางการพยาบาล 21 ปัญหา
• ค.ศ. 1961 Jean Orlando สร้างทฤษฎีชื่อ Nursing Process Theory
• ค.ศ. 1964 Lindia Hall สร้างทฤษฎีชื่อ Core Care and Cure Theory
ระยะปี ค. ศ 1971-1980
• ค.ศ.1971 Dorothea E. Orem สร้างทฤษฎีชื่อ Self - care Theory
• ค.ศ.1974 Sister Callista Roy สร้างทฤษฎีชื่อ Roy’s Adaptation model
• ค.ศ.1978 Madeleine Leininger สร้างทฤษฎีชื่อ Transcultural nursing Theory
• ค.ศ.1978 Jean Watson สร้างทฤษฎี Transpersonal Caring
• ค.ศ.1980 Betty Neuman สร้างทฤษฎีชื่อ System Model
ระยะปี 1981-ปัจจุบัน • ระยะแรก เน้นที่การนำเอาทฤษฎีต่างๆที่ถูกสร้างขึ้นมาแล้วทดลองปฏิบัติ
• ระยะหลัง เน้นพัฒนาการทฤษฎีขึ้นมาใหม่ พัฒนาระบบสารสนเทศทางการพยาบาลเพื่อเผยแพร่ความรู้