Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก - Coggle Diagram
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยหลายเซลล์(cell) กลุ่มของเซลล์ที่มาทำ งานร่วมกันนี้เรียกว่า เนื้อเยื่อ(tissue)
เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissues)
เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem
พบบริเวณปลายราก
เรียกว่า เนื้อเยื่อเจริญปลายราก (apical root meristem)
ทำ หน้าที่แบ่งเซลล์ทำ ให้รากยาวขึ้น
จัดให้เป็น การเติบโตปฐมภูมิ (primary growth)
พบบริเวณปลายยอด
เรียกว่า เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด (apical shoot meristem)
ทำ หน้าที่แบ่งเซลล์ทำ ให้ลำ ต้นและกิ่งยาวขึ้น
เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (lateral meristem
วาสคิวลาร์แคมเบียม (vascular cambium)
เพิ่มขึ้นในการเติบโตทุติยภูมิ
พบอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อท่อลำ เลียงน้ำ และ ท่อลำ เลียงอาหาร
แบ่งเซลล์ทำ ให้เกิดเนื้อเยื่อท่อลำ เลียง (Vascular cambium)
คอร์กแคมเบียม (cork cambium)
แบ่งเซลล์ให้คอร์ก (Cork)
แบ่งเซลล์เนื้อเยื่ออื่นเพื่อแทนผิวเดิมในการเติบโตทุติยภูมิในพืชบางชนิด
คอร์กแคมเบียม พบอยู่ถัดจากคอร์กเข้าไปด้านใน
เนื้อเยื่อเจริญที่แบ่งตัวออกด้านข้างของลำ ต้นหรือราก พอแบ่งเสร็จ ลำ ต้น,ราก จะขยายออกข้างและขนาดใหญ่ขึ้น
เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem
เนื้อเยื่อส่วนนี้อยู่โคนปล้องหรือเหนือข้อ
แบ่งเซลล์เพิ่มจำ นวนทำ ให้ปล้องของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวยืดยาว
พบในลำ ต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไป หญ้า , ข้าว , ข้าวโพด , อ้อย , ไผ่
กลุ่มของเซลล์ที่มีการเจริญและแบ่งตัวแบบไมโทซีล(mitosis) ตลอดเวลา
เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissue)
แวคิวโอลและผนังเซลล์มีสารต่างๆมาสะสม
ไม่สามารถแบ่งเซลล์ได้อีกต่อไป
Primary permanent tissue
Ground meristem
เจริญเปลี่ยนเป็น cortex
เจริญเปลี่ยนเป็น pith
Procambium
เจริญเปลี่ยนเป็น primary xylem
เจริญเปลี่ยนเป็น primary phloem
Primary permanent tissue
Primary permanent tissue
Primary permanent tissue
Secondary permanent tissue
vascular cambium
สร้าง secondary xylem
สร้าง secondary phloem
cork cambium
สร้าง cork
เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (simple permanent tissue
เอพิเดอร์มิส (epidermis
มักพบคิวตินมาเคลือบทับเพื่อป้องกันการระเหยของน้ำ
พบได้ทั่วไปตามส่วนต่างๆของพืช
มีลักษณะแบน
คอร์ก (cork
พบบริเวณนอกสุดของลำ ต้น กิ่ง ก้าน
ป้องกันการระเหยของน้ำ และเซลล์จากตายเมื่อโต
เกิดจากแบ่งเซลล์แบบไมโทซิลของคอร์กแคมเบียมบริเวณใกล้ๆ กับเอพิเดอร์มิส
พาเรงคิมา (parenchyma)
ประกอบขึ้นจากเซลล์พาเรงคิมา (parenchyma cell)
รูปร่าง
มีรูปร่างได้หลายแบบ
หน้าตัดวงกลม
ผนังเซลล์บางสม่ำ เสมอเป็นผนังเซลล์ปฐมภูมิ
ช่องว่างระหว่างเซลล์
ทำ หน้าที่
สังเคราะห์ด้วยแสง
หลั่งสารพวกแทนนิน
ฮอร์โมน
หน้าสะสมอาหาร
เอนไซม์
คอลเลงคิมา (collenchyma
เป็นเซลล์คล้ายพาเรงคิมา แต่ผนังไม่สม่ำ เสมอกัน
พบมากบริเวณใต้เอพิเดอร์มิสของก้านใบ เส้นกลางใบ
ประกอบขึ้นจากเซลล์เคอเรงคิมา
เพิ่มความแข็งแรง
สเคอเรงคิมา (sclerenchyma
เป็นเซลล์ที่มีผนังสองชั้น หนา
ช่วยพยุงและให้ความแข็งแรง
ประกอบขึ้นจากเซลล์สเคอเรงคิมา
2 ชนิด
เป็น เส้นใย เรียวยาว หัวท้ายแหลม เรียกว่า ไฟเบอร์ (fiber)
รูปดาว หลายเหลี่ยม เรียกว่า สเกลอรีด (sclereid)
เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (complex permanent tissue
ไซเล็ม (xylem)
ประกอบขึ้นจาก 4 ช่วย
พารเรงคิมา
ช่วยสะสมอาหาร
เป็นเซลล์ที่มีชีวิต
เป็นเซลล์ที่มีชีวิต
เพิ่มความแข็งแรง
เป็นเซลล์ที่ตายแล้ว
เทรคีต
รูปร่างเรียวยาวมีรูพรุน
เวสเซลเมมเบอร์
อ้วนสั้น หัวท้านทะลุถึงกันเหมือนท่อ
ไซเล็มทำ หน้าที่ ลำ เลียงน้ำ แร่ธาตุ
โฟลเอ็ม (phloem
ประกอบขึ้นจาก 4 ช่วย
ซีฟทิวบ์เมมเบอร์ (sieve tube mamber
เลียงต่อกันเป็นท่อลำ เลียงอาหาร
เป็นเซลล์ที่มีชีวิต
ตอนโตจะสลายไป
ไฟเบอร์
เพิ่มความแข็งแรง
คอมพาเนียนเซลล์ (companion cell
ช่วยในการลำ เลียงน้ำ ตาล ไปยังส่วนต่างๆ (ซีฟทิวบ์)
ลำ เลียงอาหารอินทรีย์ (โฟลเอ็ม)
จำ แนกตามหน้าที่
ระบบเนื้อเยื่อพิ้น (ground system)
collenchyma
sclerenchyma
parenchyma
ระบบเนื้อเยื่อลำ เลียง (vascular system
xylem
phloem
ระบบเนื้อเยื่อผิว (dermal system)
cork
epidermis