Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิควิธีการการจัดการความรู้ภายในโรงเรียน - Coggle Diagram
เทคนิควิธีการการจัดการความรู้ภายในโรงเรียน
ปัจจัยการจัดการความรู้ ในโรงเรียน
ครูและบุคลากรภายในโรงเรียน จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในความสามารถและมุ่งมั่นที่จะพัฒนาการจัดการความรู้ โดยเฉพาะผู้บริหารโรงเรียนจะต้องเป็นผู้นำ
กระบวนการจัดการความรู้ โดยมีขั้นตอนดำเนินงานอย่างเหมาะสม บุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียนมีความเข้าใจและสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง
เทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนต้องให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพรองรับการจัดการ ความรู้ได้อย่างเหมาะสม และเปิดโอกาสให้ครูทุกคนได้ใช้ระบบสารสนเทศอย่างทั่วถึง
การบริหารจัดการโรงเรียน ต้องจัดระบบบริหารจัดการที่เอื้ออำนวยโดยมีการกระจายอำนาจและให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม รวมทั้ง มีการจูงใจที่เหมาะสม
บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนรู้
1.บทบาทในการส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครู
บทบาทในการพัฒนาครูให้มีคุณลักษณะที่ดีในการจัดการเรียนรู้
บทบาทในการกำหนดวิสัยทัศน์และเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้
บทบาทในการพัฒนาครูให้เป็นครูมืออาชีพ
2.บทบาทในการพัฒนาสื่อและสิ่งและสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียน
บริหารสถานศึกษาจะต้อง วิเคราะห์ความต้องการ วางแผนในการจัดหา จัดระบบการใช้
ผู้บริหารสนับสนุนการทำงาน เเละให้คำปรึกษาอย่างใล้ชิด
บทบาทในการส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม
การกำหนดวิสัยทัศน์ในการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา การพัฒนาครูให้มีคุณลักษณะที่ดีในการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาครูให้เป็นครูมืออาชีพ และพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนที่สำคัญได้แก่ กิจกรรมการสร้างเสริมทักษะการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ และกิจกรรมเสริมทักษะชีวิต
ความสำเร็จในการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาสถานศึกษา
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารเป็นบุคคลสำคัญในการพัฒนา
เปิดพื้นที่การเรียนรู้และวัฒนธรรมการเรียนร
การมีส่วนร่วมของบุคลากร ควรเปิดโอกาสให้ทุกคนได้ร่วมแสดงความคิดเห็น
สนับสนุนนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมและพอเพียง
การประเมินผลอย่างกัลยาณมิตรแนวราบ มีการติดตาม ตรวจสอบ
ตัวอย่างเครื่องมือ Knowledge Management ในองค์กร
ระบบฐานข้อมูล (Knowledge Bases)
เก็บวิธีปฏิบัติที่ประสบผลสำเร็จ (Best Practice)
ใช้เทคนิคการเล่าเรื่องเป็นวิธีการเผยแพร่
การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (AAR: After Action Reviews)
ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System)
การจัดตั้งทีมข้ามสายงาน (Cross–Functional Team)
การประชุมระดมสมอง (Workshop/Brainstorming)
ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of practice : CoP)
การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (Action Learning)