Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล - Coggle Diagram
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนทัศน์พื้นฐานทางการพยาบาล
มโนมติของสิ่งแวดล้อม ( Environment )
สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
สิ่งมีชีวิตต่างๆทั้งพืชและสัตว์ที่มีขนาดเล็กจนถึงพืชสัตว์ที่มีขนาดใหญ๋
สิ่งแวดล้อมทางเคมี
สารเคมีทุกชนิด รวมทั้งอาหาร ยา
อาจทาจากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
สิ่งแวดทางกายภาพ
สิ่งแวดล้อมภายนอกที่ไม่มีชีวิต
มีผลเบื้องต้นต่อร่างกายคน
สิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
รูปธรรมที่สำคัญ คือ บุคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันแหละกัน มีบทบาทหน้าที่ต่อกัน
นามธรรม ไม่สามารถสัมผัสได้ มีผลต่อพฤติกรรมของบุคคลที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมนั้นๆ เช่น คงามเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณ๊ กฏหมาย ศาสนา
มโนมติสุขภาพ (Health)
สุขภาพ (Health)
สุขภาวะที่สมบูรณ์และเชื่อโยงกันเป็นองค์รวามอย่างสมดุลทั้งทางกาย จิตสังคมและจิตวิญญาณ
ความเจ็บป่วย (illness)
สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอาจมีสาเหตุเริ่มแรกจากความผิดปกติของอวัยวะต่างๆ เช่น มีอาการนอนไม่หลับ เบื่ออาหาร
บางคนอาจป่วยหนักตั้งแต่แรกเกิดและเสียชีวิต
มโนมติของคน (Man)
คนมีความต้องการภาวะสมดุล หรือปกติ
ความต้องการดำรงภาวะสมดุล (Homeostasis) ความต้องการในระดับที่ไม่รู้ตัวเป็นไปโดยอัตโนมัติ และในระดับที่รู้ตัว
ความต้องการปรับสู่ภาวะสมดุล เมื่อสูญเสียสมดุล คนจะปรับสู่ภาวะสมดุลให้เร็วที่สุด โดยกลไกการปรับสู่ภาวะสมดุลอาจเป้นทั้งระบบอัติโนมัติหรือรู้ตัว
คนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันแต่มีความเป็นปัจเจกบุคคล
แต่ละคนมีลักษณะเฉพาะทางของตน
ปัจัยที่ทำให้แต่ละคนเป็นปัจเจกบุคคล คือ พันธุกรรม ระดับการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย จิตสังคม และประสบการณ์ในชีวิต
คนมีพัฒนาการ
การพัฒนาการจะเป็นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ เกิดจนถึงวัยชรา
พัฒนาการของคนอาจแบ่งออกเป็น ด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์ สังคม และด้านคุณธรรมจริยธรรม แต่ละขั้นตอนมีลักษณะเฉพาะ
ในแต่ละวัยมีความผสมผสานและอาจมีผลกระทบซึ่งกันและกัน
คนมีสิทธิของตน
สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง
สิทธิในการได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
สิทธิในการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย
คนมีความต้องการพื้นฐาน
ร่างกาย จิตใจและสังคม
ตามทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์
ความต้องการทางด้านร่างกายหรือสรีระ (Physical needs)
ความต้องการทางด้านความปลอดภัย (Safety and security)
ความต้องการความรัก ความผูกพัน (Affiliation)
ความต้องการความภาคภูมิใจและความมีศักดิ์ศรี (Self-esteem)
ความต้องการความพอใจตนเอง (Self-actualization)
คนมีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเอง
การช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวัน
การแก้ปัญหาด้วยตนเอง
คนเป็นระบบเปิด
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา
การรับและการให้เกิดขึ้นได้ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม โดยมีความสัมพันธ์กัน
คน ประกอบด้วย
กายหรือร่างกาย
จิตหรือจิตใจ
จิตวิญญาณ (Spirit)
สิติปัญญา หรือความคิด
อารมณ์และความรู้สึก
สังคม
สัมพันธภาพแต่ละบุคล
บทบาท หน้าที่ของตนที่มีต่อบุคคลอื่น
ตำแหน่งที่ตยดำรงอยู่
มโนมติของการพยาบาล (Nursing)
พยาบาลที่จะช่วยเหลือคนให้มีภาวะสุขภาพดีหรือปรับสู่ภาวะสุขภาพดี
การป้องกันโรค
การป้องกันระดับที่1 (primary prevention) เป็นการป้องกันโรคบางโรคเป็นการเฉพาะ
การป้องกันระดับที่2 (secondary prevention) ส่งเสริมการตรวจพบผู้ป่งยตั้งแต่โรคยังไม่ปรากฏอาการเพื่อให้สามารถให้การรักษาได้ทันที
การป้องกันระดับที่3 (tertiary prevention) สอนให้รู้จักการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำอีก
การดูแลรักษา
การอธิบายให้ข้อมูลที่จำเป็นแกผู้ป่วยรวมทั้งญาติให้เข้าใจจะช่วยให้ได้รับความร่วมมือที่ดีและเป็นผลดีต่อการรักษา
การส่งเสริมสุขภาพ
ช่วยในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การฟื้นฟูสภาพร่างกาย
จะต้องเข้าถึงจิตใจและรู้สภาพปัญหาของผู้ป่วยแต่ละคนอย่างถ่องแท้
ใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้รับบริการ
การประเมินสภาพ
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
เพื่อให้คนสามารถดำรงภาวะสุขภาพไว้ ช่วยผู้ป่วยให้สุขภาพดี
การพยาบาลเป็นบริการที่ดีต่อสังคม
ช่วยเหลือผู้รับบบริการทั้งราบบุคคล ครอบครัวและชุมชน
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
เพื่อช่วยเหลือคนให้สามารถดำรงภาวะสมดุลหรือสุขภาพดี
ช่วยเหลือคนที่เจ็บป่วยห้ปรับตัวสู่ภาวะสมดุล
ความสำคัญของมโนมติพื้นฐานทางการพยาบาล
การวิจัยทางการพยาบาล
การปฏิบัติทางการพยาบาล
การพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาล
การจัดการศึกษาพยาบาล
มโนทัศน์และทฤษฏีทางการพยาบาล
ทฤษฏีการพยาบาล (Nursing Theory)
การจำแนกทฤษฎีตามลักษณะการนำไปใช้
ทฤษฎีเชิงนิรนัย(Deductive nursing theories)
การนำศาสตร์ต่างๆมาสังเคราะห์ จัดระบบหรือขยายมโนมติให้เกิดเป็นมโนมติใหม่
ทฤษฎีการพยาบาลของคิง ทฤษฎีการพยาบาลของรอย ทฤษฎีการพยาบาลของนิวแมน ทฤษฎีการพยาบาลของไลนิงเจอร์ ทฤษฎีการพยาบาลของวัตสัน
ทฤษฎีเชิงอุปนัย (Inductive nursing theories)
เป็นการพัฒนาทฤษฎีที่เกิดจากการปฏิบัติการพยาบาลมาสรุปทฤษฎี
การจำแนกทฤษฎีตามระดับความเป็นนามธรรม
ทฤษฎีระดับกว้าง (Grand theory)
แบบจำลองมโนมติที่ครอบคลุมเนื้อหาที่สาระกว้าง เป็นนามธรรมสูง
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม ทฤษฎีการปรับตัวของรอย ทฤษฎีการดูแลเอื้ออาทรของวัตสัน
ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Rang theory)
เกิดจากการศึกษาวิจัยสามารถนำไปใช้อ้างอิงและขยายต่อได้ ทดสอบได้
ทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
ทฤษฎีอภิทฤษฎี (Meta - theory)
สร้างทฤษฎีจะมีจุดเน้นการตั้งคำถาม
ทฤษฎีระดับปฏิบัติ (Practice theory )
มีความซับซ้อนน้อยสุด ทดสอบได้ง่าย และนำไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาลได้
ประโยชน์ของทฤษฎีต่อการปฏิบัติการพยาบาลต่อผู้รับผู้บริการ
เป็นแนวทางในการนำกระบวนการพยาบาล มาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
แสดงถึงความเป็นเอกสิทธ์ในวิชาชีพการพยาบาล (Autonomy)
วิวัฒนาการของทฤษฎีการพยาบาล
Florence Nightingale เป็นบุคคลแรกที่พยายามสร้างศาสตร์การพยาบาลและเตรียมพร้อมพยาบาลอย่างมีรูปแบบชัดเจน
พัฒนาการของทฤษฎีการพยาบาล
1 ระยะก่อนปี ค.ศ.1960
พัฒนาต่อเนื่องมาจากไนติงเกล
ค.ศ. 1950 Environmental Theory : Nightingale
พัฒนาพื้นฐานของทฤษฎีจากแนวคิดจิตวิทยา สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยสาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์
ค.ศ. 1952 Interpersonal Relations in Nursing : Hildegard Peplau
ค.ศ.1955 Principles and Practice of Nursing : Virginia
2 ระยะก่อนปี ค.ศ.1960-1970
ค.ศ.1964 Lindia Hall สร้างทฤษฎีชื่อ Core Care and Cure Theory (เน้นปฏิกิริยาระหว่างร่างกายและโรค)
ค.ศ. 1968 Dickoff &James ทฤษฎีการพยาบาลต้องเป็นทฤษฎีในระดับสูงสุด สร้างสถานการณ์(Situation-producing theory)
ค.ศ. 1970 Martha E. Roers สร้างทฤษฎี Science of Unitary Human Being
ค.ศ.1961 Jean Orlando สร้างทฤษฎีชื่อ Nursing Process Theory (เน้นการปฏิบัติการพยาบาล)
ค.ศ.1960 Faye Abdullah พัฒนากลุ่มปัญหาทางการพยาบาล21 ปัญหา (กายภาพ+ชีวภาพ+จิตสังคม)
3 ระยะก่อนปี ค.ศ.1971-1980
ค.ศ. 1978 Madeleine Leininger สร้างทฤษฎีชื่อ Transcultural nursing
ค.ศ. Jena Watson สร้างทฤษฎีชือ Transpersonal Caring
ค.ศ. 1974 Sister Callista Roy สร้างทฤษฎีชื่อ Roy‘s Adaptation model
ค.ศ. 1980 Betty Neuman สร้างทฤษฎีชื่อ System Model
ค.ศ.1971 Dorothea E.Oremสร้างทฤษฎีชื่อSelf-care Theory
ระยะปี ค.ศ.1981-ปัจจุบัน
ระยะแรก
ถูกสร้างขึ้นมาแล้วมาทดลองปฏิบัติ พิสูจน์ข้อเท็จจริงตามข้อสมมุติฐาน
ระยะหลัง
เน้นพัฒนาทฤษฎีขึ้นมาใหม่พัฒนาระบบสารสนเทสทางการพยาบาล
กระบวนการทัศน์ (Paradigm)
กรอบการมองหรือกรอบเค้าโครงความคิดหรือแบบอุดมคติหรือปรัชญาที่ยอมรับในกลุ่มวิชาชีพ
Metaparadigm
กรอบ ขอบเขตหรือโครงสร้างทางความคิดหรือมโนมติในภาพรวมกว้างๆของศาสตร์สาขาต่างๆ
กรอบแนวคิด (conceptual framework /model)
กลุ่มของมโนทัศน์ที่สัมพันธ์กันเป็นภาพรวมของปรากฏการณ์หรือควาามจริงครอบคลุมอย่างกว้างขวางและมีความเป็นนามธรรมสูง