Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7 กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่7 กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนทัศน์พื้นฐานทางการพยาบาล
หมายถึง ความรู้ความคิด ความเช่ือ ในส่ิงที่เป็นพื้นฐานของการพยาบาล
1.มโนมติของคน (Man)
1.คน
1.1กายหรือร่างกาย
การทำงานของร่างกาย
1.2 จิตหรือจิตใจ
1.2.1 อารมณ์และความรู้สึก
1.2.2 จิตวิญญาณ(Spirit)
1.2.3 สติปัญญา หรือความคิด
1.3 สังคม
หน้าที่ บทบาทของบุคคล
2.คนเป็นระบบเปิด
คนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา
3.คนมีความต้องการพื้นฐาน
3.1ด้านร่างกายหรือสรีระ
3.2ด้านความปลอดภัย
3.3 ด้านความรัก
3.4 ด้านความาคภูมิใจหรือศักดิ์ศรี
3.5 ด้านความพึ่งพอใจตนเอง
4.คนมีพัฒนาการ
คนมีการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพ เกิดจนถึงวัยชรา
5.คนมีความต้องการภาวะสมดลหรือภาวะปกติ
กระบวนการปรับตัวหรือกลไกการต่อสู้เพื่อสมดุล
5.1ความต้องการดำรงภาวะสมดุล
5.2 ความต้องการปรับสู่ภาวะสมดุล
6.คนมีพื้นฐานร่วมกันแต่มีความเป็นปัจเจกบุคคล
ลักษณะเฉพาะของตนเอง 'ความเป็นปัจเจกบุคคล'
7.คนมีสิทธิของตน
สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง
สิทธิในการได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
สิทธิในการได้รับการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย
8.คนมีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเอง
การช่วยตนเองในกิจวัตรประจำวัน
การแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง
2.มโนมติของสิ่งแวดล้อม(Environment)
ส่ิงแวดล้อมทางชีวภาพ
สิ่งมีชีวิตต่างๆ เช่น พืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กไปจนใหญ่
ส่ิงแวดล้อมทางเคมี
สารเคมีทุกชนิด รวมทั้ง อาหาร ยา
ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ
ส่ิงแวดล้อมภายนอกที่ไม่มีชีวต เช่น
อากาศ ดิน น้ำ ลม และสิ่งก่อสร้างต่างๆ
สิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่เป็นนามธรรม ไม่สทมารถ จะสัมผัสได้ แต่มีผลต่อพฤติกรรมของบุคคล เช่น
ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรม ศาสนา
3.มโนมติของสุขภาพ(Health)
สภาวะที่ปราศจากโรค และสามารถใช้พละกำลังของ
ตนเองได้เต็มความสามารถ
สุขภาพ องค์การอนามัยโลก (WHO, 1947)
สภาวะที่มีความสมบรูณ์ของร่างกาย จิตใจ และ สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
องค์การอนามัยโลก (WHO, 1947)
สภาวะที่มีความสมบรูณ์ของร่างกาย จิตใจ สังคม
จิตวิญญาณ
พระราชบัญญัตสุขภาพแห่งชาติในมาตราท่ี 3
สภาวะที่มีความสมบรูณ์ของร่างกาย จิตใจ สังคม
จิตวิญญาณ
ความเจ็บป่วย
สภาวะที่มีการเปลี่ยนของร่างกาย จิตใจ สังคม
จิตวิญญาณ บกพร่องหรือทำหน้าที่ได้น้อยกว่าปกติ
4.มโนมติของการพยาบาล
การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
เพื่อให้คนสามารถดำรงภาวะสุขภาพไว้/ช่วยให้คนกลับสู่ภาวะสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วย
การพยาบาลที่จะช่วยเหลือให้คนมีภาวะสุขภาพดี หรือปรับสู่ภาวะสุขภาพดี
2.1 การส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนใหญ่เป็นการช่วยในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2.2 การป้องกันโรค
การช่วยเหลือให้คนไม่เจ็บป่วยด้วยโรคหรือความเจ็บป่วยท่ีป้องกันได้
2.3 การดูแลรักษา
มุ่งเน้นดูแลและให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วย
2.4 การฟื้นฟูสภาพร่างกาย
บทบาทของพยาบาลในการฟื้นฟูสภาพแก่ผู้ป่วย ช่วยเหลือให้ผู้ป่วยกลับมามีชีวิตในสังคมตามสภาพปกติ
การพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการ
ช่วยเหลือผู้รับบริการ
การประเมินสภาพ
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
4.การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
ในการช่วยเหลือผู้รับบริการทั้งที่เป็นรายบุคคล ครอบครัวและชุมชน ทำให้การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนมติพื้นฐานของคน ส่ิงแวดล้อม สุขภาพ และการพยาบาล
มีจุดมุ่งหมายเดื้อช่วยเหลือคนให้สามารถดำรงภาวะสมดุลหรือภาวะ สุขภาพดีได้ และช่วยเหลือคนที่เจ็บ
ป่วยให้ปรับตัวกลับสู่ภาวะสมดุล
บทบาทในการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การดูแลรักษาและการฟื้นฟูสภาพ
มโนทัศน์และทฤษฏีทางการพยาบาล
ทฤษฎีทางการพยาบาล ( Nursing Theory )
แก่นสาระความรู้ของวิชาชีพพยาบาล ซึ่งมุ่งอธิบายธรรมชาติของคนสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพล ต่อบุคคลภาวะสุขภาพ ความเจ็บป่วยของบุคคล
กระบวนทัศน์ ( Paradigm )
กรอบการมองหรือกรอบเค้าโครงแนวคิด หรือแบบอดุมคติ หรือปรัชญาที่เป็นที่ยอมรับในกลุ่มวิชาชีพ
Metaparadigm
กรอบขอบเขตหรือโครงสร้างทางความคิดหรือมโนมติในภาพรวม กว้างๆของศาสตร์สาขาต่างๆ
กรอบแนวคิด
กลุ่มของมโนทัศน์ที่สัมพันธ์กันเป็นภาพรวมของปรากฏการณ์หรือความจริงที่ช่วยให้เห็นจุดเน้นของความคิด
การจำแนกทฤษฎีตามลักษณะการนำไปใช้
ทฤษฎีเชิงนิรนัย (Deductive nursing theories)
เป็นการพัฒนาทฤษฎีจากการนําศาสตร์ต่างๆมาสังเคราะห์ขยายมโนมติเดิมให้เกิดเป็นมโนมติใหม่
ทฤษฎีเชิงอุปนัย(Inductive nursing theories)
เป็นการพัฒนาทฤษฎีที่เกิดจากการปฏิบัตการพยาบาลมาประมวลเพื่อสรุปเป็นทฤษฎี
การจำแนกทฤษฎีตามระดับความเป็นนามธรรม
1.ทฤษฎีอภิทฤษฎี (Meta – theory)
มีเป้าหมายที่กระบวน การสร้างทฤษฎี จะมีจุดเน้นที่การตั้ง คำถามเชิงปรัชญา
2.ทฤษฎีระดับกว้าง(Grandtheory)
กำหนดกรอบแนวคิดหรือแบบจำลองมโนมติที่ครอบคลุมเนื้อหาสาระที่กว้าง
3.ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Rang theory)
มีขอบเขตเนื้อหาสาระแคบลงและ มีจำนวนมโนทัศน์น้อยกว่าทฤษฎีระดับกว้าง
4.ทฤษฎีระดับปฏิบัติ(Practice theory)
มีความซับซ้อนน้อยที่สุด เป็นชุดข้อความเชิงทฤษฎีที่เกิดจากการทดสอบสมมติฐานในปรากฎการณ์ใดปรากฎการณ์หนึ่ง