Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่7กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนทัศน์พื้นฐานทางการพยาบาล
ประกอบด้วยความรู้พื้นฐานในมโนมติ
คน
ร่างกาย
โครงสร้างและหน้าที่การทำงานของร่างกาย
จิตใจ
อารมณ์และความรู้สึก
จิตวิญญาณ
สติปัญญา
สังคม
คือ ส่วนของคนที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นๆรอบตัว
คนเป็นระบบเปิด
คนจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา
และมีการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม
เกิดขึ้นได้ทั้งทาง
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
คนมีความต้องการพื้นฐาน
1.ความต้องการทางด้านร่างกายหรือสรีระ
(Physical needs)
3.ความต้องการความรัก ความผูกพัน
(Affiliation)
4.ความต้องการความภาคภูมิใจและความมีศักดิ์ศรี
(Self-esteem)
5.ความต้องการความพอใจตนเอง
(Self-actualization)
2.ความต้องการและความปลอดภัย
(Safety and security)
คนมีพัมนาการ
การพัฒนาการเป็นกระบวณการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพในด้านต่างๆ
แต่ละด้านจะมีความต่อเนื่องกันและเป็นลำดับขั้น
แต่ละขั้นจะมีลักษณะเฉพาะ
จะเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ตั้งแต่เกิดจนถึงวัยชรา
ด้านร่างกาย
ด้านสติปัญญา
ด้านอารมณ์ สังคม
ด้านคุณธรรม
คนมีความต้องการภาวะสมดุล
คนจะต้องอยู่ในภาวะสมดุลอยู่ตลอดเวลา
ถ้าเกิดเสียสมดุลก็จะพยายามปรับสู่สมดุลเรียกว่า กระบวณการปรับตัวหรือกลไกการต่อสู้เพื่อสมดุลกลไกทางด้านร่างกาย
และจิตสังคม
ความต้องการดำรงภาวะสมดุล (Homeostasis)
ความต้องการในระดับที่ไม่รู้ตัวไปโดยอัตโนมัติ
ในระดับที่รู้ตัว
คนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันแต่มีความเป็นปัจเจกบุคคล
แต่ละคนมีพื้นฐานร่วมกันทุกคน
แต่ละคนก็มีลักษณะเฉพาะของตนเองเรียกว่า ความเป็นปัจเจกบุคคลเรียกว่า ความเป็นปัจเจกบุคคลคือพันธุกรรม
คนมีสิทธิของตน
แต่ละคนไม่ว่าเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่บทบาทใดก็ตาม
จะมีสิทธิแห่งตนตามภาวะดำรงอยู่
สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง
สิทธิในการได้รับการคุ้มครองตามกฏหมาย
สิทธิในการได้รับการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย
คนมีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเอง
ทุกคนมีความสามารถช่วยเหลือตนเองในด้านต่างๆ
การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวัน
การแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
สิ่งแวดล้อม
คนจะต้องอยู้ในสิ่งแวดล้อมซึ่งอาจเป็นสิ่งมีชีวิต
หรือไม่มีชีวิต
1.สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ดิน น้ำ แสง อากาศ และสิ่งก่อสร้างต่างๆเป็นต้นสิ่งแวดล้อมเหล่านี้จะมีผลเบื้องต้นต่อร่างกายคน
3.สิ่งแวดล้อมทางเคมี
สารเคมีทุกชนิดรวมทั้ง
อาหาร ยา
ซึ่งอาจมาจากสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิต
2.สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
สิ่งมีชีวิตต่างๆ ทั้งพืช สัตว์ที่มีขนาดเล็กมองไม่เห้นด้วยตาเปล่าจนถึงขนาดใหญ่โตกว่าคน
4.สิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
รูปธรรม
ที่สำคัญคือ บุคลคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
นามธรรม
ไม่สามารถสัมผัสได้
แต่มีผลต่อบุคคลที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมนั้น
ความเชื่อ
ค่านิยม
กฏหมาย
หน่วยของสังคมที่สำคัญที่สุด
คือ “ครอบครัว”
บุคคลในครอบครัวต่างเป้นสิ่งแวดล้อมซึ่งกันและกัน
อาจทำให้เกิดผลดีผลเสียต่อกันได้
สังคมที่ใหญ่กว่าครอบครัว
ระดับหมู่บ้าน
ตำบล
อำเภอ
จังหวัด
ประเทศ
สิ่งแวดล้อมแต่ละชนิดที่จะให้ประโยชน์และโทษแก่บุคคล
อากาศที่บริสุทธิ์มีส่วนช่วยทำให้คนมีร่างกายแข็งแรง
อากาศที่มีแก๊สพิษอยู่ก็อาจทำให้คนถึงแก่ชีวิตได้
สุขภาพ
สุขภาพมีลักษณะเป็นนามธรรม
ภาวะที่มีความสมบูรณ์สมดุล
สามารถปรับตัวได้ทั้ง
ด้านร่างกาย
ด้านจิต
ด้านสังคม
ทำให้คนปฏิบัติหน้าที่ได้ ตามวัตถุประสงค์
ภาวะสุขภาพดี (Wellness)
ความเจ็บป่วย (Illness)
สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติ
ทำให้บุคคลทำหน้าที่บกพร่องกว่าปกติ
เป็นภาวะที่บุคคลรู้สึกมีสุขภาพไม่ดี
บุคคลที่มีความเจ็บป่วยด้านใดด้านหนึ่งจะมีผลกระทบด้านอื่นๆตามมา
ไนติงเกล (Nightingale, 1860)
สภาวะที่ปราศจากโรค สามารถใช้พละกำลัง
ของตนเองได้เต็มความสามารถ
องค์การอนามัยโลก (WHO, 1947)
ภาวะที่มีความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ
และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
สุขภาพดี
สภาวะที่ร่างกายมีความสมบูรณ์ของ
ร่างกายจิตใจ
สังคมและจิตวิญญาณ
ปราศจากโรคและความพิการ
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติในมาตราที่3
สุขภาพที่สมบูรณ์และเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล
มีลักษณะเป็ลพลวัตรและต่อเนื่อง
ภาวะสุขภาพจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
สภาพร่างกายจิตใจสภาพเเวดล้อม
ที่เปลี่ยนแปลงทำให้สุขภาพเปลี่ยนแปลง
การพยาบาล
การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
รักษาทางการพยาบาล
คือ กิจกรรมที่พยาบาลปฏิบัติในขอบเขตหน้าที่ของตน
สมาคมพยาบาลอเมริกัน
เป็นการวินิจฉัยและให้การรักษาภาวะที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพ
การพยาบาลที่ช่วยเหลือให้คนมีภาวะสุขภาพดี
การส่งเสริมสุขภาพ
การช่วยเหลือที่ทำให้คนมีสุขภาพดีขึ้น
ช่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การให้คำแนะนำการรับประทานอาหาร
การป้องกันโรค
การช่วยเหลือให้คนไม่เจ็บป่วยด้วยโรค
การป้องกันระดับที่1 (primary prevention)
การกระทำที่ป้องกันโรคเป็นการเฉพาะ
คนกลุ่มนี้มีพฤติกรรมเสี่ยงซึ่งเป็นสาเหตุให้ป่วยในวันข้างหน้า จึงต้องพิจารณาการป้องกันโรคของตนเอง
การป้องกันระดับที่2 (secondary prevention)
องค์กรที่ทำหน้าที่คัดกรองส่งเสริมการตรวจพบผู้ป่วยตั้งแต่โรคยังไม่ปรากฏ
เพื่อให้รักษาได้ทันท่วงที
สนับสนุนให้ได้รับการตรวจหาเซลล์มะเร็งปากมดลูก
การป้องกันในระดับที่3 (tertiary prevention)
เริ่มเมื่อบุคคลป่วยเข้ามารับการรักษาที่ รพ.
พยาบาลให้การดูแลและเฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อน
สอนให้รู้จักการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำอีก
การดูแลรักษา
การที่คนหนึ่งต้องเปลี่ยนสถานะภาพจากสุขภาพปกติมาเป็นผู้ป่วย อยู่ภายใต้การดูแลของแพทยืและพยาบาล
ผู้ป่วยจะต้องปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินชีวิตใหม่การดูแลรักษาเป็นไปตามแบบแผนของแพทย์
มุ่งเน้นการบำบัด พยาบาลจะต้องรู้จักใช้ศิลปะในการติดต่อสื่อสารอธิบายให้ข้อมูลที่จำเป็นแก่ผู้ป่วยรวมทั้งญาติให้เข้าใจ
จะช่วยให้ได้รับความร่วมมือที่ดีและเป็นผลดีต่อการรักษา
การฟื้นฟูสภาพร่างกาย
เป็นระยะที่บุคคลออกจากภาวะการเป็นผู้ป่วยกลับบ้านเพื่อไปดูแลตนเองต่อที่บ้าน มีการฟื้นฟูสภาพร่างกายให้ดีขึ้นพยาบาลจะต้องรู้สภาพปัญหาของผู้ป่วยเป็นกำลังใจให้ผู้ป่วย
การพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการ
ช่วยเหลือผู้รับบริการ
การประเมินสภาพ
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
การพยาบาลเป็นกระบวณการที่เป็นพลวัตร
ต่อเนื่องสัมพันธ์กันอยู่ตลอดเวลา
จะสิ้นสุดเมื่อความต้องการของผู้รับบริการตอบสนอง
การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
การช่วยเหลือผู้รับบริการ
ถ้าขาดพยาบาลที่มีคุณภาพ
ส่งผลให้คนไม่สามารถดำรงภาวะสุขภาพดีไว้ได้
กระบวณทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนติพื้นฐานของคน
สิ่งแวดล้อม
สุขภาพ
และการพยาบาล
มีความสัมพันธ์กัน
คนจะอยู่ในสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา และดำรงตนอยู่ในภาวะสมดุล โดยใช้กลไกการปรับสมดุล
กลไกการปรับสมดุล คนจะอยู่ในภาวะที่ปรับตัวได้
การพยาบาลมีความสัมพันธ์กับสุขภาพของคน
มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือคนไข้ให้ดำรงในภาวะสมดุล
การพยาบาลมีความครอบคลุมในทุกภาวะสุขภาพของคน
ความสำคัญของมโนติพื้นฐานทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการวิจัยทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการปฎิบัติการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการจัดการศึกษาพยาบาล
ภาวะสุขภาพของบุคคลขึ้นอยู่กับความสามารถของบุคคลที่มีปฏิสัมพันธ์อย่างเหมาะสมต่อสิ่งแวดล้อม
ปฏิกิริยาตอบสนอง (human response)
การปรับตัวของบุคคล (Human adaptation)
มโนทัศน์และทฤษฎีทางการพยาบาล
ทฤษฎีทางการพยาบาล ( Nursing Theory )
สาระความรู้ของวิชาชีพพยาบาล โดยมีเป้าหมายของการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล
กระบวนทัศน์ ( Paradigm )
กรอบการมองหรือเค้าโครงความคิด ที่ยอมรับในกลุ่มวิชาชีพ
เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติและสร้างความเข้าใจในศาสตร์นั้นเป็นแนวเดียวกัน
MetaparadigM
ขอบเขต หรือมโนติในภาพรวมความกว้างๆของศาสตร์สาขาต่างๆสิ่ง ซึ่งประกอบด้วยมโนทัศน์ของศาสตร์
สาขานั้นๆ
Health
Environment
Person
Nursing
กรอบแนวคิด (ConCeptual fraMework / Model )
กลุ่มของมโนทัศน์ที่สัมพันธ์กันเป็นภาพรวมของปรากฏการณ์
ลักษณะพื้นฐานของทฤษฎี
สามารถนำไปใช้ในการปรับปรุงแนวทางปฏิบัติได้
ทฤษฎีที่น่าเชื่อถือจะต้องสอดคล้องกับทฤษฎีอื่นที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว
ให้สมมุติฐานที่สามารถทดสอบได้
ควรจะง่ายแก่การสรุปอ้างอิงได้อย่างกว้างขวางและครอบคลุม
จะต้องแสดงลำดับเพราะเหตุผลตามหลักตรรกวิทยา
สามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ให้เข้าใจปรากฏการณ์ที่เฉพาะได้
การจำแนกทฤษฎีตามระดับความเป็นนามธรรม
1.ทฤษฎีอภิทฤษฎี (Meta – theory)
มีเป้าหมายที่กระบวนการสร้างทฤษฎีจะมีจุดเน้นที่การตั้งคำถามเชิงปรัชญา มีความเป็นนามธรรมสูง
2.ทฤษฎีระดับกว้าง (Grandtheory)
กำหนดกรอบแนวคิดนำไปทดสอบด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้ยากเนื่องจากมีความเป็นนามธรรมสูงแต่สามารถนำไปเป็นแนวทางการปฏิบัติได้ดี
3.ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Rang theory)
มีขอบเขตเนื้อหาสาระแคปลงเกิดจากการศึกษาวิจัยสามารถนำไปใช้อ้างอิงและขยายต่อได้
4.ทฤษฎีระดับปฏิบัติ (Practice theory)
มีความซับซ้อนน้อยที่สุดสามารถทดสอบได้ง่ายและดับไปใช้ในการปฎิบัติการพยาบาลได้โดยตรง
การจำแนกทฤษฎีตามลักษณะการนำไปใช้
1.ทฤษฎีเชิงนิรนัย (Deductive nursing theories)
เป็นการพัฒนาทฤษฎีจากการนำศาสตร์ต่างๆมาสังเคราะห์
2.ทฤษฎีเชิงอุปนัย (Inductive nursing theories)