Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล - Coggle Diagram
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนมติของคน (Man)
คน
กายหรือร่างกาย
โครงสร้างและหน้าที่ของการทำงานของร่างกาย
จิตหรือจิตใจ
อารมณ์และความรู้สึก
สติปัญญา/ความคิด
จิตวิญญาณ
สังคม
สัมพันธภาพแต่ละบุคคล
เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นๆ รอบตัว
บทบาทและสัมพันธภาพมีส่วนสัมพันธ์กัน
คนเป็นระบบเปิด
มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา
มีการรับ และมีการให้/ ตอบสนองแก่สิ่งแวดล้อม
การรับและการให้เกิดได้ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม
บางครั้งให้โดยไม่มีการรับ
3.คนมีความต้องการพื้นฐาน
ความต้องการทางด้านร่างกายหรือสรีระ(Physical needs)
ความต้องการความปลอดภัย(Safety and security)
ความต้องการความรัก ความผูกพัน (Affiliation)
ความตเองการความภาคภูมิใจและความมีศักดิ์ศรี(Self-esteem)
ความต้องการความพอใจตนเอง(Self-actualization)
คนมีพัฒนาการ
การพัฒนาการจะเป็นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เกิดจนถึงวัยชรา
การพัฒนาการของคนแบ่งออกได้เป็น ด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์สังคม ด้านคุณธรรม
การพัฒนาการเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพ
พัฒนาการจะมีความต่อเนื่อง มีลักษณะเฉพาะ
5.คนมีความต้องการภาวะสมดุล หรือภาวะปกติ
ความต้องการดำรงภาวะสมดุล(Homeostasis)
ความต้องการปรับสู่ภาวะสมดุล
คนมีความต้องการภาวะสมดุล หรือภาวะปกติ
เมื่อเกิดภาวะเสียสมดุลก็จะพยายามปรับสู่สมดุล
6.คนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันแต่มีความเป็นปัจเจกบุคคล
คนแต่ละคนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันทุกคน
คนแต่ละคนมีลักษณะเฉพาะของตนเอง
ปัจจัยที่ทำให้แต่ละคนเป็นปัจเจกบุคคล
7.คนมีสิทธิของตน
สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง
สิทธิในการได้รับการคุ้มครองตามกฏหมาย
สิทธิในการได้รับการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย
8.คนมีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเอง
การช่วยตนเองในกิจวัตรประจำวัน
การแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
มโนมติของสิ่งแวดล้อม(Environment)
1.สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ความร้อน แสง เสียง รังสี
อากาศ ดิน น้ำ ลม
ที่พักอาศัย สิ่งก่อสร้างต่างๆ
2.สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์มีขนาดเล็กมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า และมีขนาดใหญ่กว่าคน
ตัวอย่างสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ แบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต ต้นพืชชนิดต่างๆ วัว ควาย สุนัข
สิ่งแวดล้อมทางเคมี
สารเคมีทุกชนิด รวมทั้งอาหาร ยา
อาจมาจากสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิต
4.สิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
หน่วยของสังคมที่สำคัญ (ครอบครัว)
สิ่งแวดล้อมที่เป็นนามธรรม ไม่สามารถสัมผัสได้
อากาศที่บริสุทธิ์ช่วยให้คนมีร่างกายที่แข็งแรง
บุคคลในครอบครัวต่างเป็นสิ่งแวดล้อมซึ่งกันและกัน มีบทบาทหน้าที่ต่อกัน
คนในชุมชนก็เป็นสิ่งแวดล้อมของบุคคลอื่นในชุมชนนั้นๆ
มโนมติของสุขภาพ (Health)
สุขภาพมีลักษณะเป็นนามธรรม
เป็นภาวะเกิดขึ้นกับบุคลแรกเกิด-วัยชรา
สุขภาพของคนประกอบด้วย 2ภาวะ
ภาวะสุขภาพดี(Wellness)
ไนติงเกล (Nightingale, 1860)
สภาวะที่ปราศจากโรคเเละสามารถใช้พละกําลังของตนได้เต็มความสามารถ
องค์การอนามัยโลก (WHO, 1947)
สภาวะที่ร่างกายมีความสมบรูณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ และวิญญาณ ปราศจากโรคและความพิการ
องค์การอนามัยโลก (WHO, 1947)
สุขภาพดีคือสภาวะที่ร่างกายสมบรูณ์
เจ็บป่วย(Illness)
สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ปกติทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และวิญญาณ
ทำให้บุคคลทำหน้าที่บกพร่อง
เป็นภาวะที่บุคคลรู้สึกว่ามีสุขภาพไม่ดี
ความเจ็บป่วยอาจไม่เกี่ยวข้องกับโรค
เป็นองค์รวมสมดุลทั้งทางกาย ทางจิตใจ ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ
สภาวะที่ปราศจากโรค
สุขภาพเป็นพลวัตรต่อเนื่อง
บางคนป่วยหนักตั้งแต่แรกเกิดจนเสียชีวิต
มโนมติการพยาบาล(Nursing)
การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
ในทุกวัยตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยสูงอายุ
เพื่อให้คนสามารถดำรงภาวะสุขภาพไว้/ช่วยให้คนกลับสู่ภาวะสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วย
2.การพยาบาลที่จะช่วยเหลือให้คนมีภาวะสุขภาพดี
การส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนใหญ่เป็การช่วยในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพ
การป้องกัน
การป้องกันระดับท่ี 1 (primary prevention)
ป้องกันโรคบางโรคเป็นการเฉพาะ
การป้องกันระดับท่ี 2 (secondary prevention)
ส่งเสริมการตรวจผู้ป่วยตั้งแต่โรคยังไม่ปรากฏอาการ
การป้องกันระดับท่ี 3 (tertiary prevention)
สอนให้รู้จักการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำอีก
การดูแลรักษา
มุ่งเน้นการบำบัด
พยาบาลต้องรู้จักใช้ศิลปะในการติดต่อสื่อสาร
การฟื้นฟูร่างกาย
เป็นผู้ให้กำลังใจให้ความหวังช่ืนชมและยกย่องผู้ป่วย
ออกจากภาวะผู้ป่วยสู่ภาวะปกติ
มีการฟื้นฟูร่างกายให้ดีขึ้น
3.การพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้รับบริการ
ต้องเป็นกระบวนการที่เป็นพลวัตรต่อเนื่องสัมพันธ์กัน
การพยาบาลสิ้นสุดเมื่อผู้รับบริการได้รับการตอบสนอง
4.การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
ช่วยเหลือผู้รับบริการ
ถ้าขาดพยาบาลที่มีคุณภาพอาจส่งผลให้คนไม่สามารถดำรงภาวะสุขภาพดีไว้ได้
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนมติพื้นฐานของคน สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และการพยาบาลจะมีความสัมพันธ์กัน
โดยคนจะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา
กลไกการปรับสมดุลคนอาจอยู่ในภาวะที่ปรับตัวได้
มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือคนให้ดำรงภาวะสมดุล
การช่วยเหลือคนจะช่วยในการส่งเสริมสุขภาพ การดูแลรักษาและการฟื้นฟู
ความสำคัญของมโนมติพื้นฐานการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการวิจัยทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการปฏิบัติทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการจัดการศึกษาทางการพยาบาล
แนวคิดภาวะสุขภาพการเจ็บป่วยและการพยาบาล
ต้องมีการเรียนรู้เพื่อให้สุขภาพตนเองดีอยู่เสมอ
สุขภาพดีจะช่วยให้พัฒนาการทางด้านต่างๆเป็นไปด้วยดี
ความเจ็บป่วย(illness)
สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ สังคม
ความเจ็บป่วยอาจไม่เกี่ยวกับโรค
อาจมีสาเหตุเริ่มแรกจากความผิดปกติของอวัยวะต่างๆ
ถ้ามีความเจ็บป่วยด้านใดด้านหนึ่งจะส่งผลต่อด้านอื่นๆ
คนส่วนมากมักจะมีความบกพร่องทางสุขภาพบ้างไม่มากก็น้อย
มโนทัศน์และทฤษฏีทางการพยาบาล
ทฤษฎีทางการพยาบาล ( Nursing Theory )
แก่นสาระความรู้ของวิชาชีพพยาบาล ซึ่งมุ่งอธิบายธรรมชาติของคน สิ่งแวดล้อมท่ีมีอิทธิพล ต่อบุคคล
กระบวนทัศน์ ( Paradigm )
กรอบการมองหรือกรอบเค้าโครงแนวคิด หรือแบบอุดมคติ หรือปรัชญาที่ยอมรับในกล่มุวิชาชีพ
Metaparadigm
กรอบ ขอบเขต หรือโครงสร้างทางความคิดหรือมโนมติในภาพรวมกว้างๆของศาสตร์สาขาต่างๆ
กรอบแนวคิด
กลุ่มของมโนทัศน์สัมพันกันเป็นภาพรวมของปรากฎการ์
ลักษณะพื้นฐานของทฤษฎี
สามารถแสดงความสัมพันธ์
ลำดับของเหตุผลตามหลักตรรกวิทยา
สมมติฐานที่สามารถทดสอบได้
นำไปใช้และปรับปรุงแนวทาง
การจําแนกทฤษฎีตามลักษณะการนําไปใช้
1.ทฤษฎีเชิงนิรนัย (Deductive nursing theories)
2.ทฤษฎีเชิงอุปนัย(Inductive nursing theories)
การจำแนกทฤษฎีตามระดับความเป็นนามธรรม
1.ทฤษฎีอภิทฤษฎี (Meta – theory)
2.ทฤษฎีระดับกว้าง(Grandtheory)
3.ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Rang theory)
4.ทฤษฎีระดับปฏิบัติ (Practice theory)
ประโยชน์ของทฤษฎีต่อการปฏิบัติการพยาบาล
เป็นแนวทางในการนํากระบวนการพยาบาลมาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
แสดงถึงความเป็นเอกสิทธ์ิในวิชาชีพการพยาบาล(Autonomy)
วิวัฒนาการของทฤษฎีการพยาบาล
Florence Nightingaleเป็นบุคคลแรกที่พยายามสร้างศาสตร์การพยาบาลและ เตรียมพยาบาลอย่างมีรูปแบบชัดเจน
พัฒนาการของทฤษฎีทางการพยาบาล
1.ระยะก่อนปี ค.ศ. 1960
พื้นฐานของทฤษฎีจากเเนวคิดจิตวิทยาสังคมศาสตร์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษศาสตร์ เเละพฤติกรรมศาสตร์
ค.ศ.1950 Environmental Theory : Nightingale
ค.ศ.1952 Interpersonal Relations in Nursing : Hildegard Peplau
ระยะปี ค.ศ. 1960-1970
Jean Orlando
สร้างทฤษฎี Nursing Process Theory
Lindia Hall
สร้างทฤษฎี Core Care and Cure Theory
Martha E. Rogers
สร้างทฤษฎี Science of Unitary Human Being
3.ระยะปี ค.ศ. 1971-1980
Dorothea E. Orem
สร้างทฤษฎี Self - care Theory
Sister Callista Roy
สร้างทฤษฎี Roy’s Adaptation model
Madeleine Leininger
สร้างทฤษฎี Transcultural nursing Theory
Jean Watson
สร้างทฤษฎี Transpersonal Caring
Betty Neuman
สร้างทฤษฎี System Model
4.ระยะปี ค.ศ. 1981 – ปัจจุบัน
ระยะแรก
เน้นเอาทฤษฎีต่างๆมาทดลองปฏิบัติ/พิสูจน์
ระยะหลัง
เน้นพัฒนาทฤษฎีใหม่เพื่อพัฒนาระบบสาระสนเทศทางการพยาบาล