Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล, AA439E77-773A-4E61-99B3-4D0376ACAB11,…
บทที่7กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนทัศน์พื้นฐานทางการพยาบาล
หมายถึง
ความรู้ความคิดความเช่ือในส่ิงที่เป็นพื้นฐานของการพยาบาล
ประกอบด้วยความรู้พื้นฐานในมโนมติ
มโนมติของสิ่งแวดล้อม (Environment)
คนไม่ได้อยู่อย่างโดดเดี่ยวแต่จะต้องอยู่ใน
สิ่งแวดล้อมซึ่งอาจเป็นสิ่งมีชีว้ต หรือสิ่งไม่มีชีวิต
สิ่งแวดล้อมสามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภท ได้เเก่
ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ
ส่ิงแวดล้อมภายนอกที่ไม่มีชีวิต เช่น ความร้อน แสง เสียง รังสี อากาศ ดิน น้ำ ลม ที่พักอากาศ เเละสิ่งก่อสร้างต่างๆ
ส่ิงแวดล้อมทางชีวภาพ
ส่ิงมีชีวิตต่างๆ ทั้งพืชและสัตว์ ที่มีขนาดเล็กจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น จนถึงพืชและสัตว์ที่มีขนาดใหญ่โตกว่า คน
ตัวอย่างส่ิงแวดล้อมทางชีวภาพ ได้เเก่ แบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต ต้นพืชชนิดต่างๆ วัว ควาย สุนัข
ส่ิงแวดล้อมทางเคมี
สารเคมีทุกชนิดรวมทั้งอาหาร ยา
ซึ่งอาจมาจากส่ิงมชีวิต หรือส่ิงไม่มีชีวิต
ส่ิงแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
ประกอบด้วยส่ิงที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
ส่ิงแวดล้อมทางสังคมที่เป็นรูปธรรมที่สำคัญ คือ บุคคลที่มีความสัมพันซึ่งกันและกันมีบทบาทหน้าที่ต่อกัน
หน่วยของสังคมที่สำคัญที่สุด คือ ครอบครัว
บุคคลในครอบครัวต่างก็เป็นส่ิงแวดล้อมซึ่งกันและกันอาจ ก่อให้เกิดผลดีหรือผลเสียต่อกันได้
สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่เป็นนามธรรม ไม่สามารถจะสัมผัสได้ เช่น ความเชื่อค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณี กฏหมาย ศาสนา
อากาศที่บริสุทธิ์มีส่วนช่วยทำให้คนทีร่าางกายที่เเเข็งแรง
มโนมติของสุขภาพ (Health)
สุขภาพของคนจะประกอบด้วย 2 ภาวะคือ
ภาวะสุขภาพดี (Wellness)
เจ็บป่วย (Illness)
สุขภาพ (Health)
ไนติงเกล (Nightingale, 1860)
หมายถึง สภาวะที่ปราศจากโรค และสามารถใช้พละกำลังของตนเองได้ เต็มความสามารถ
องค์การอนามัยโลก (WHO, 1947)
หมายถึง สภาวะทม่ี คี วามสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และ สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขมิใช่เพียงแต่ปราศจากโรค
และความพิการเท่านั้น
สุขภาพดี หมายถึง สภาวะที่ร่างกายมีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ปราศจากโรคและความ
พิการใดๆ
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติในมาตราท่ี 3
หมายความว่า สุขภาวะที่สมบูรณ์เเละเชื่อมโยงกัน เป็นองค์รวมทั้งทางกายทางจิต ทางสังคม
และทางจิตวิญญาณ
ความเจ็บป่วย(illness)
หมายถึง สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ปกติทางด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
ในโลกนี้น้อยคนนักที่จะมีสุขภาพดีมาก คือ ครบทั้งกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ตลอดเวลา
คนส่วนมากมักจะมีความบกพร่องทางสุขภาพบ้างไม่มากก็น้อย
แต่ถ้าหากบุคคลนั้นพอใจในสภาพการณ์ที่เป็นอยู่และสามารถดำรงชีวิต อยู่ได้อย่างมีความสุขก็ถือได้ว่ามีสุขภาพดีอยู่
สุขภาพมีลักษณะเป็นพลวัตรและต่อเนื่อง
ในขณะหน่ึงคนอาจอยู่ในภาวะที่สมบูรณ์เเข็งแรง แต่ก็อาจอยู่ใน ภาวะเจ็บ ป่วยได้ในเวลาไม่กีชั่วโมงต่อมา
บางคนอาจป่วยหนักตั้งแต่เเรกเกิดและเสียชีวิต
มโนมติของการพยาบาล (Nursing)
1.การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
เพื่อให้คนสามารถดำรงภาวะสุขภาพไว้ช่วยให้คนกลับสู่ภาวะสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วย
คำว่ารักษาทางการพยาบาล
คือกิจกรรมท่ี พยาบาลปฏิบัติในขอบเขตหน้าที่ของตนในการ ช่วยเหลือด้านพฤติกรรมของบุคคลที่เปลี่ยนไป จากเดิมอันเนื่องมาจากผลกระทบจากปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นหรือจากพฤติกรรมเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพ
2.การพยาบาลที่จะช่วยเหลือให้คนมีภาวะสุขภาพดี หรือปรับสู่ภาวะ สุขภาพดี
การส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนใหญ่เป็นการช่วยในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพหรือปรับเปลี่ยน พฤติกรรม
การป้องกันโรค
การป้องกันโรคแบ่งออกเป็น 3 ระดับ
การป้องกันระดับท่ี 1 (primary prevention)
การกระทำที่เป็นการป้องกันโรคเฉพาะ
การป้องกันระดับท่ี 2 (secondary prevention)
ส่งเสริมการตรวจพบผู้ป่วยตงั แต่ โรคยังไม่ปรากฏอาการเพื่อให้สามารถให้การรักษาได้ทันท่วงที
การป้องกันระดับท่ี 3 (tertiary prevention)
สอนให้รู้จักการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำอีก
การดูเเลรักษา
ผู้ป่วยจะต้องปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินชีวิตใหม่ต้องพึ่งพาผู้อื่นมากขึ้นผู้ป่วยแต่ละคนจะมีความกลัว
วิตกกังวลแตกต่างกันออกไป
มุ่งเน้นการบำบัด
พยาบาลจะต้องรู้จักใช้ศิลปะในการติดต่อสื่อสาร
การฟื้นฟูสภาพร่างกาย
เป็นระยะที่บุคคลออกจากภาวะของการเป็น ผู้ป่วยกำลังกลับไปอยู่ในบทบาทของคนปกติทั่ว ป
เป็นผู้ให้กำลังใจให้ความหวังช่ืนชมและยกย่องผู้ป่วย
การพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้รับบริการ
การประเมินสภาพ
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลจะสิ้นสุดก็ต่อเมื่อความต้องการของผู้รับบริการได้รับการตอบสนองหรือปัญหาได้รับการแก้ไขปัจจัยเสี่ยงได้รับการจัดการให้ หมดสิ้นไป
การพยาบาลเป็นบริการที่จำเเป็นต่อสังคม
ถ้าขาดการพยาบาลที่มีคุณภาพอาจส่งผลให้ค้นไม่สามารถดำรงภาวะสุขภาพดีไว้ได้
มโนมติของคน (Man)
1.คน ประกอบด้วย
1.1 กายหรือร่างกาย
ประกอบด้วยส่วนของโครงสร้างและ
หน้าที่การทำงานของร่างกายของบุคคล
1.2 จิตหรือจิตใจ
จิตใจของคนประกอบด้วย 3 ส่วนย่อย
1.2.1 อารมณ์เเละความรู้สึก
1.2.2 จิตวิญญาณ (Spirit)
1.2.3 สติปัญญาหรือความคิด
1.3 สังคม
คือ ส่วนของคนที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นๆ รอบตัว
คนจะเกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นด้วย บทบาท หน้าท่ี ของตนที่มรต่อบุคคลอื่น แต่ละบุคคลจะปฏิบัติต่ออบุคคลอื่นอย่างไรนั้น ขึ้นกับตำแหน่งที่ดำรงอยู่ในขณะนั้นเป็นสำคัญ
สัมพันธภาพแต่ละบุคคล
บทบาทและสัมพันธภาพ
มีส่วนสัมพันธ์กัน
คนเป็นระบบเปิด
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา
การรับและการให้เกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจใจ และสังคม โดยมีความสัมพันธ์กัน
คนมีความต้องการพื้นฐาน
ในแต่ละบุคคลจะมีความต้องการทั้งทางร่างกายจิตใจและสังคม
ทฤษฎีความต้องการ
ของมาสโลว์
3.1 ความต้องการทางด้านร่างกายหรือสรีระ (Physical needs)
3.2 ความต้องการความปลอดภัย (Safety and security)
3.3 ความต้องการความรัก ความผูกพัน (Affiliation)
3.4 ความต้องการความภาคภูมิใจและความมีศักดิ์ศรี (Self-esteem)
3.5 ความต้องการความพอใจตนเอง (Self-actualization)
4 . คนมีพัฒนาการ
การพัฒนาการจะเป็นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เกิดจนถึงวัยชรา
การพัฒนาการของคนอาจแบ่งออกได้เป็น
ด้านร่างกาย
ด้านสติปัญญา
ด้านคุณธรรม
ด้านอารมณ์สังคม
การพัฒนาการในและด้านแต่ละขั้นตอนจะมีลักษณะเฉพาะ
คนมีความต้องการภาวะสมดุล หรือภาวะปกติ
กระบวนการที่ดำรงภาวะสมดุลหรือปรับสมดุล
เรียกว่า กระบวนการปรับตัว หรือกลไกการต่อสู้ เพื่อสมดุล ประกอบด้วย กระบวนการหรือกลไกทางด้านร่างกาย และจิตสังคม
5.1 ความต้องการดำรงภาวะสมดุล (Homeostasis)
5.2 ความต้องการปรับสู่ภาวะสมดุล
คนจะพยายามปรับสู่ภาวะสมดุลให้เร็วที่สุด โดยกลไกการปรับสู่ภาวะสมดุล
6.คนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันแต่มีความเป็นปัจเจกบุคคล
คนแต่ละคนก็มีลักษณะเฉพาะของตนเอง
เรียกว่า ความเป็นปัจเจกบุคคล
ปัจจัยที่ทำให้เเต่ละคนเป็นปัจเจกบุคคล คือ
พันธุกรรม ระดับการพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกายจิตสังคม และ ปร ะสบการณ์ในชีวิต
คนมีสิทธิของตน
แต่ละบุคคลไม่ว่าในภาวะที่เป็นเด็ก/ ผู้ใหญ่ในบทบาท/ตำแหน่งใดก็ตามจะมีสิทธิแห่งตนตาม ภาวะที่ดำรงอยู่ เช่น
สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง
สิทธิในการได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
สิทธิในการได้รับการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย
คนมีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเอง
คนทุกคนมีความสามารถที่จะช่วยเหลือตนเองในด้านต่างๆ เช่น
การช่วยตนเองในกิจวัตรประจำวัน
การแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง
พยาบาลจะต้องศึกษาเพื่อที่จะเป็นพื้นฐานในการปฏิบัตการพยาบาลของตน
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนมติพื้นฐานของคน ส่ิงแวดล้อม สุขภาพ และการพยาบาล จะมีความสัมพันธ์กัน
กลไกการปรับสมดุลคนอาจอยู่ในภาวะที่ปรับตัวได้ สามารถที่จะดำรงความสมดุลไว้ได้ ซึ้งเรียกภาวะนี้ว่าสุขภาพดี หรือสมบูรณ์ซึ้งมีระดับต่างๆ กัน
มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือคนให้สามารถดำรงภาวะสมดุลหรือภาวะ
สุขภาพดีได้และช่วยเหลือคนที่เจ็บป่วยให้ปรับตัวกลับสู่ภาวะสมดุล
ความสำคัญของมโนมติพื้นฐานทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการวิจัยทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการปฏิบัติการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการจัดการศึกษาพยาบาล
แนวคิดภาวะสุขภาพการเจ็บป่วยและการพยาบาล
ภาวะสุขภาพจึงเป็นความต้องการสูงสุดของบุคคล สุขภนพดีจะช่วยให้
กระบวนการเจริญเติบโตพัฒนาการทางด้านร่างกายจิตใจ และสังคมเป็นไปได้ด้วยดี
ความเจ็บป่วย(illness)
สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ปกติทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
คนส่วนมากมักจะมีความบกพร่องทางสุขภาพบ้างไม่มากก็น้อย แต่ถ้าหากบุคคลน้ันพอใจในสภาพการณ์ที่เป็นอยู่และสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุขก็ถือได้ว่ามีสุขภาพดี
มโนทัศเเละทฤษฏีทางการพยาบาล
ทฤษฎีทางการพยาบาล ( Nursing Theory )
หมายถึง แก่นสาระความรู้ของวิชาชีพพยาบาล ซึ่งมุ่งอธิบายธรรมชาติของคนสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อบุคคล ภาวะสุขภาพ ความเจ็บป่วยของบุคคล โดยมีเป้าหมายของการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล (Fitzpatrick & Whall , 1989 )
กระบวนทัศน์ ( Paradigm )
หมายถึง กรอบการมองหรือกรอบเค้าโครงแนวคิด หรือแบบอุดม คติ หรือปรัชญาที่เป็นที่ยอมรับในกลุ่มวิชาชีพซึ่งจะให้ข้อตกลงเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติวิจัยและสร้างความเข้าใจในศาสตร์น้ันเป็นแนวเดียวกัน
MetaparadigM
หมายถึง กรอบขอบเขตหรือโครงสร้างทางความคิดหรือมโนมติในภาพรวม กว้างๆของศาสตร์สาขาต่างๆ ซึ่งจะประกอบด้วยมโนทัศน์ของศาสตร์สาขานั้นๆ
รวมทั้งมีการกำหนดลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์อีกด้วย
กระบวนทัศน์ทางการพยาบาล
Person
Health
Environment
Nursing
กรอบแนวคิด
(ConCeptual fraMework / Model )
หมายถึง กลุ่มของมโนทัศน์ที่สัมพันธ์กัน เป็นภาพรวมของปรากฏการณ์ หรือความจริงท่ีช่วยให้เห็นจุดเน้นของความคิดเปรียบเสมือนร่มโดยภายใต้ร่มประกอบด้วยทฤษฎีต่าง ๆ และครอบคลุมกับปรากฎการณ์ อย่างกว้างขวาง และมีความเป็นนามธรรมสูง
ลักษณะพื้นฐานของทฤษฎี
สามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ให้เข้าใจปรากฏการณ์ที่เฉพาะได้
จะต้องแสดงลำดับของเหตุผลตามหลักตรรกวิทยา
ควรจะง่ายแก่การสรุปอ้างอิงได้อย่างกว้างขวาง และครอบคลุม
ให้สมมุติฐานที่สามารถทดสอบได้
สามารถนําไปใช้ในการปรับปรุงแนวทางปฏิบัติได้
ทฤษฎที่น่าเชื่อถือจะต้องสอดคล้องกับทฤษฎอื่นที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว
การจําแนกทฤษฎีตามลักษณะการนําไปใช้
ทฤษฎีเชิงนิรนัย (Deductive nursing theories)
ทฤษฎีการพยาบาลของคิงทฤษฎกีารพยาบาลของรอยทฤษฎีการพยาบาลของนิวแมน ทฤษฎีการพยาบาลของไลนิงเจอร์ ทฤษฎีการพยาบาลของวัตสัน
ทฤษฎีเชิงอุปนัย(Inductive nursing theories)เป็นการพัฒ นาทฤษฎีที่เกิดจาก การปฏิบัติการพยาบาลมาประมวลเพื่อสรุปเป็นทฤษฎี
การจำแนกทฤษฎีตามระดับความเป็นนามธรรม
ทฤษฎีอภิทฤษฎี (Meta – theory)
การสร้างทฤษฎี
ตั้งคำถามเชิงปรัชญา
ทฤษฎีระดับว้าง(Grandtheory)
นามธรรมสูง
แต่สามารถนําไปเป็นแนวทางการปฏิบัติ
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม ทฤษฎีการปรับตัวของรอย ทฤษฎี การดูแลเอื้ออาทรของวัตสัน
ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Rang theory)
สามารถนําไปใช้อ้างอิงและขยายต่อได้
ทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
ทฤษฎีระดับปฎิบัติ (Practice theory)
สามารถทดสอบได้ง่าย และนําไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
ประโยชน์ของทฤษฎต่อการปฏิบัติการพยาบาล
เป็นแนวทางในการนํากระบวนการพยาบาลมาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
แสดงถึงความเป็นเอกสิทธ์ิในวิชาชีพการพยาบาล(Autonomy)
พัฒนาการของทฤษฎีทางการพยาบาล
ระยะก่อนปี ค.ศ. 1960
พัฒนาพื้นฐานของทฤษฎีจากแนวคิดจิตวิทยา สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์
ค.ศ.1950 Environmental Theory : Nightingale
ค.ศ.1952 Interpersonal Relations in Nursing : Hildegard Peplau
ระยะปี ค.ศ. 1960-1970
ค.ศ. 1961 Jean Orlando สร้างทฤษฎชี่อ Nursing Process Theory (เน้นการปฏิบัติการพยาบาล)
ค.ศ. 1970 Martha E. Rogers สร้างทฤษฎี Science of Unitary Human Being
ระยะปี ค.ศ. 1971-1980
ค.ศ.1971 Dorothea E. Orem สร้างทฤษฎีชื่อ Self - care Theory
ค.ศ.1974 Sister Callista Roy สร้างทฤษฎีชื่อ Roy’s Adaptation model
ค.ศ.1978 Madeleine Leininger สร้างทฤษฎีชื่อ Transcultural nursing Theory
ค.ศ.1978 Jean Watson สร้างทฤษฎี Transpersonal Caring
ค.ศ.1980 Betty Neuman สร้างทฤษฎีชื่อ System Model
ระยะปี ค.ศ. 1981 – ปัจจุบัน
ระยะแรก เน้นที่การนําเอาทฤษฎีต่างๆที่ ถูกสร้างขึ้นมาแล้วมาทดลองปฏิบัติ/พิสูจน์ ข้อเท็จจริงตามข้อสมมุติฐาน
ระยะหลัง เน้นพัฒนาทฤษฎีขึ้นมาใหม่ พัฒนาระบบสารสนเทศทางการพยาบาลเพื่อเผยแพร่ความรู้