Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ 7 กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนมติของคน
1.คน
จิตใจ
จิตวิญญาณ
สติปัญญา ความคิด
อารมณ์ความรู้สึก
ร่างกาย
สังคม
สัมพันธภาพ บทบาท หน้าที่
2.คนเป็นระบบเปิด
3.คนมีความต้องการพื้นฐาน
ความต้องการความรัก ความผูกพัน
ความต้องการความภาคภูมิใจเเละมีศักดิ์ศรี
ความต้องการความปลอดภัย
ความต้องการความพอใจตนเอง
ความต้องการทางด้านร่างกายหรือสรีระ
4.คนมีพัฒนาการ
ด้านสติปัญญา
ด้านอารมณ์สังคม
ด้านร่างกาย
ด้านคุณธรรม
5.คนมีต้องการภาวะสมดุลหรือภาวะปกติ
กระบวนการปรับตัว หรือ กลไกการต่อสู้เพื่อสมดุล
8.คนมีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเอง
“สุขได้ เพราะปล่อยวาง”
6.คนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันเเต่มีความเป็นปัจเจกบุคคล
ความเป็นปัจเจกบุคคล
7.คนมีสิทธิของตน
สิทธิในการได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
การตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง
สิทธิในการได้รับการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย
มโนมติของสิ่งเเวดล้อม
1.สิ่งเเวดล้อมทางกายภาพ
สิ่งเเวดล้อมภายนอกที่ไม่มีชีวิต
สิ่งเเวดล้อมเหล่านี้ มีผลต่อสิ่งมีชีวิต
2.สิ่งเเวดล้อมชีวภาพ
เเบคทีเรีย ปรสิต พืช สัตว์ ไวรัส
3.สิ่งเเวดล้อมทางเคมี
สารเคมีทุกชนิด อาหาร และยา
4.สิ่งเเวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
รูปธรรม
นามธรรม
มโนมติของสุขภาพ
สุขภาพ
กาย ทางจิต ทางสังคมเเละทางจิตวิญญาณ
พลวัตรเเละต่อเนื่อง
ความเจ็บป่วย
สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลง การบกพร่อง การทำหน้าที่ได้น้อยลง
มโนมติของการพยาบาล
1.การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
เพื่อให้คนสามารถดำรงภาวะสุขภาพไว้/ช่วยให้คนกลับสู่ภาวะสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วย
คำว่ารักษาทางการพยาบาล คือ กิจกรรมที่พยาบาลปฏิบัติในขอบเขตหน้าที่ของตน ในการช่วยเหลือด้านพฤติกรรมของบุคคลที่เปลี่ยนไปจากเดิม อันเนื่องมาจากผลกระทบจากปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้น หรือจากพฤติกรรมเสี่ยงต่อเกิดปัญหาสุขภาพ
2.การพยาบาลที่จะช่วยเหลือให้คนมีภาวะสุขภาพหรือปรับสู่ภาวะสุขภาพดี
2.1 การส่งเสริมสุขภาพ
2.2 การป้องกันโรค
การป้องกันระดับที่ 1
ป้องกันโรคบางโรคเป็นการเฉพาะ
เพื่อป้องกันความไม่สุขสบาย
การป้องกันระดับที่ 2
ส่งเสริมการตรวจพบผู้ป่วยตั้งเเต่ โรคยังไม่ปรากฏอาการ เพื่อให้สามารถให้การรักษาได้ทันท่วงที
การป้องกันระดับที่ 3
สอนให้รู้จักการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำอีก
2.3 การดูเเลรักษา
การอธิบายให้ข้อมูลที่จำเป็นเเก่ผู้ป่วยรวมทั้งญาติให้เข้าใจกระจ่าง ช่วยให้ได้รับความร่วมมือที่ดีเป็นผลดีต่อการรักษา
2.4 การฟื้นฟูสภาพ
เป็นระยะที่จะกลับไปดูเเลตนเองต่อที่บ้าน
เป็นระยะที่บุคคลออกจากภาวะคนป่วยกลับไปอยู่ในบทบาทคนปกติ
3.การพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้รับบริการ
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางเเผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
การประเมินสภาพ
4.การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
ถ้าขาดพยาบาลที่มีคุณภาพ ส่งผลให้คนไม่สามารถดำรงภาวะสุขภาพดีไว้ได้
กระบวนทัศนหลักการพยาบาล
การพยาบาลมีความสัมพันธ์กับสุขภาพของคน
มีจุดมุ่งหมายที่ช่วยเหลือคนให้สามารถดำรงภาวะสมดุลหรือภาวะสุขภาพได้ เเละช่วยเหลือคนที่เจ็บป่วย ให้ปรับตัวกลับสู่ภาวะสมดุล
ความสำคัญของมโนมติพื้นฐานทางพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการจัดการศึกษาทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการปฏิบัติทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการวิจัยทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาล
เเนวคิดภาวะสุขภาพ การเจ็บป่วยเเละการพยาบาล
ปฏิกิริยาตอบสนอง
การปรับตัวของบุคคล
ภาวะสุขภาพจึงเป็นต้องการสูงสุดของบุคคล สุขภาพดีจะช่วยให้ กระบวนการเจริญเติบโต พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ เเละสังคมเป็นไปได้ด้วยดี
ความเจ็บป่วย
บุคคลนั้นพอใจในสภาพการณ์ที่เป็นอยู่เเละสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข ก็ถือว่ามีสุขภาพดี
ความต่อเนื่องของภาวะสุขภาพเเละความเจ็บป่วย
สุขภาพดีมาก
สุขภาพดี
สุขภาพปกติ
เจ็บป่วยเล็กน้อย
เจ็บป่วยรุนเเรง
ตาย
มโนทัศน์ละทฤษฏีทางการพยาบาล
ทฤษฎีทางการพยาบาล
เเก่นสาระความรู้ของวิชาชีพพยาบาลซึ่ง มุ่งอธิบายธรรมชาติของคน สิ่งเเวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อบุคคล ภาวะสุขภาพ ความเจ็บป่วยของบุคคล โดยมีเป้าหมายของการพยาบาลเเละกิจกรรมการพยาบาล
กระบวนทัศน์
กรอบการมองหรือกรอบเค้าโครงเเนวคิด หรือเเบบอุดมคติหรือปรัชญาที่เป็นที่ยอมรับในกลุ่มวิชชาชีพซึ่งจะให้ข้อตกลงเพื่อเป็นเเนวทางปฏิบัติ วิจัย เเละสร้างความเข้าใจในศาสตร์นั้นเป็นเเนวเดียวกัน
กรอบเเนวคิด
กลุ่มขอมโนทัศน์ที่สัมพันธ์กันเป็นภาพรวมของปรากฎการณ์หรือความจริงที่ช่วยให้เห็นจุดเน้นของความคิด เปรียบเสมือนร่มโดยภายใต้ร่มประกอบด้วยทฤษฎีต่างๆ
โครงสร้างความสัมพันธ์
Metaparadigm
สุขภาพ
สิ่งเเวดล้อม
คน
การพยาบาล
แบบจําลองมโนทัศน์/ทฤษฎีการพยาบาลระดับกว้าง
ทฤษฎีของโอเรม
ทฤษฎีของรอย
ทฤษฎีของวัตสัน
ทฤษฎีของนิวเเมน
ลักษณะพื้นฐานของทฤษฎี
สามารถเเสดงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ให้เข้าใจปรากฎการณ์ที่เฉพาะได้
จะต้องเเสดงลำดับของเหตุผลตามหลักตรรกวิทยา
ควรจะง่ายในการสรุปอ้างอิงได้อย่างกว้างขวาง เเละครอบคลุม
สามารถนำไปใช้ในการปรับปรุงเเนวทางปฏิบัติได้
การจำเเนกทฤษฎีตามลักษณะการนำไปใช้
ทฤษฎีเชิงอุปนัย
เป็นการพัฒนาทฤษฎีที่เกิดจากการปฏิบัติการพยาบาลมมาประมวลเพื่อสรุปเป็นทฤษฎี
ทฤษฎีเชิงนิรนัย
เป็นการพัฒนาทฤษฎีจากการนำศาสตร์ต่างๆมาสังเคราะห์
การจำแนกทฤษฎีตามระดับความเป็นนามธรรม
ทฤษฎีระดับกว้าง
นามธรรมสูง เเนวทางปฏิบัติ เช่น ทฤษฎีโอเรม ทฤษฎีปรักตัวของรอย ทฤษฎีการดูเเลเอื้ออาทรของวัตสัน
ทฤษฎีระดับกลาง
สามรถนำไปใช้อ้างอิงเเละขยายต่อได้ เช่น ทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
ทฤษฎีอทิทฤษฎี
ตั้งคำถามเชิงปรัชญา
ทฤษฎีระดับปฏิบัติ
สามารถทดสอบได้ง่าย เเละนำไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
ประโยชน์ของทฤษฎีต่อการปฏิบัติการพยาบาล
เป็นเเนวทางในการนำกระบวนการพยาบาล มาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
แสดงถึงความเป็นเอกสิทธิ์ในวิชาชีพการพยาบาล
วิวัฒนาการของทฤษฎีการพยาบาล
Florence Nightingale เป็นบุคคลแรกที่พยายามสร้างศาสตร์การพยาบาลและ เตรียมพยาบาลอย่างมีรูปแบบชัดเจน
พัฒนาการของทฤษฎีการพยาบาล
ระยะปี ค.ศ. 1960-1970
ค.ศ. 1961 Jean Orlando เน้นการปฏิบัติทางการพยาบาล Nursing Process Theory
ค.ศ. 1964 Lindia Hall เน้นปฏิกิริยาระหว่างร่างกายเเละโรค
ค . ศ . 1 9 6 0 F a y e A b d e l l a h (กายภาพ + ชีวภาพ + จิตสังคม )
ค.ศ.1968 Dickoff & James ทฤษฎีการพยาบาลต้องเป็ นทฤษฎีในระดับสูงสุดคือ เป็นทฤษฎีในระดับสร้างสถานการณ์(Situation–producingtheory)
ค.ศ. 1970 Martha E. Rogers สร้างทฤษฎี Science of Unitary Human Being
ระยะปี ค.ศ. 1971-1980
ค.ศ.1971 Dorothea E. Orem สร้างทฤษฎีชื่อ Self - care Theory
ค.ศ.1974 Sister Callista Roy สร้างทฤษฎีชื่อ Roy’s Adaptation model
ค.ศ.1978 Madeleine Leininger สร้างทฤษฎีชื่อ Transcultural nursing Theory
ค.ศ.1978 Jean Watson สร้างทฤษฎี Transpersonal Caring
ค.ศ.1980 Betty Neuman สร้างทฤษฎีชื่อ System Model
ระยะปี ค.ศ. 1981 – ปัจจุบัน
ระยะหลัง เน้นพัฒนาทฤษฎีขึ้นมาใหม่พัฒนาระบบสารสนเทศทางการพยาบาลเพื่อเผยเเพร่ความรู้
ระยะเเรก เน้นที่การนำเอาทฤษฎีต่างๆที่ถูกสร้างขึ้นมาเเล้วมาทดลองปฏิบัติ/พิสูจน์ข้อเท็จจริงตามข้อสมมติฐาน
ระยะก่อนปี ค.ศ.1960 พัฒนาพื้นฐานของทฤษฎีจากแนวคดิจิตวิทยา สังคมศาสตร์ วิทยายาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์