Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีความคิด, A67C5815-8141-4EB9-966F-6F411B5CD16B, D6EDA9F4-9DC3-42F1…
ทฤษฎีความคิด
ทฤษฎีแบบรู้คิดและพฤติกรรม (CBT)
ธรรมชาติของมนุษย์
มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความคิด สองแบบ คือ ความคิดที่สมเหตุสมผล และ ความคิดไม่สมเหตุสมผล
มนุษย์มีความโน้มเอียงที่จะทำลายตัวเอง
ความคิดมีอิทธิพลต่ออารมณ์พฤติกรรม หรือการกระทำของแต่ละบุคคล
มนุษย์มักวางเงื่อนไขให้ตนเองรู้สึกไม่สบายใจหรือมีปัญหา โดยการพูดหรือการบอกตัวเองซ้ำๆ
ขั้นตอนการปรึกษา
ขั้นประเมินผล
ขั้นยุติการปรึกษา
ขั้นวางแผนและดำเนินการตามแผน
CL เริ่มวางแผนการปรึกษา ด้วยการให้ CE สังเกตและบันทึกอาการต่างๆที่เกิดขึ้น ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ความเชื่อเกี่ยวกับความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น พฤติกรรม การกระทำ หรือการแสดงออกและอารมณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน โดยบันทึกประมาณ 3-5 วันในช่วงแรกๆและค่อยเพิ่มจำนวนวันไปเรื่อยๆ
ขั้นติดตามผล
ติดตามผลเป็นระยะ โดย CE สังเกตและบันทึกพฤติกรรม การกระทำ สภาพอารมณ์ หากยังมีอาการอยู่
ขั้นระบุวัตถุประสงค์
กำหนดวัตถุประสงค์ร่วมกัน เพื่อหาสาเหตุของปัญหา
ขั้นระบุปัญหา
เปิดโอกาสให้ CE เล่าถึงปัญหาที่เกิดขึ้น
ขั้นเริ่มต้นการปรึกษา
ขั้นการสร้างสัมพันธภาพ
แนวคิดทฤษฎี
ระบบความคิดสภาวะอารมณ์ และพฤติกรรมที่แสดงออกของเราส่งผลต่อกันและกัน หากปรับเปลี่ยนความคิดในแง่ลบได้ การแสดงออกทางด้านอารมณ์และพฤติกรรมก็น่าจะเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นได้
เป้าหมาย
ช่วยให้ CE ยอมรับและขจัดความคิดด้านลบต่อตัวเองให้หมด
มีการแลกเปลี่ยนความคิดของกันและกัน
เปลี่ยนวิธีคิดของ CE โดยใช้ความคิดอัตโนมัติ
CE รู้จักสร้างกรอบความคิดใหม่ขึ้น
เจ้าของทฤษฎี
แอรอน ที เบค ( Aaron T. Beck)
เทคนิค
จินตนาการภาพทางบวก
นึกถึงภาพที่ประสบความสำเร็จแทนที่จินตนาการทางลบ
บทสนทนาแบบโสเครติส
ตั้งคำถามปลายเปิด
ประสบการณ์ที่ได้มาจากความร่วมมือกัน
ตั้งคำถามสะท้อนกลับ
ฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออก การซักซ้อมพฤติกรรม การให้คะแนนตัวเอง วิธีการผ่อนคลายความเครียด การฝึกทักษะทางสังคม การทำการบ้าน
อารมณ์ขัน
บทบาทของผู้ให้บริการ
มีความกระตือรือร้นอย่างต่อเนื่อง มีปฏิสัมพันธ์กับ CE ด้วยความสุขุม มีความมุ่งมั่น พยายามทำให้ CE เกิดความรู้สึกอยากร่วมมือและมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหา
การประยุกต์ทฤษฎี
ปัญหาชีวิตสมรส
การฝึกอบรมทักษะสังคมด้านต่างๆ
โรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า โรคจิตเภท
ปัญหาการดูแลสุขภาพ
การจัดการความเครียด ความเครียดหลังเหตุการณ์รุนแรง (PTSD)
พิจารณา เหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม
(Rational Emotive Behavior Therapy)
เจ้าของทฤษฎี
อัลเบิร์ต เอลลิส(Albert Ellis)
แนวคิดทฤษฎี
สาระสำคัญของทฤษฎี มนุษย์มีความต้องการสิ่งดีงามของชีวิตทั้งร่างกาย และ
จิตใจ ความคิด อารมณ์ หรือความรู้สึก และความเชื่อกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งที่เกี่ยวพันกัน ดังนั้น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคลจึงต้องพิจารณาที่ความเชื่อ ความรู้สึก และความคิดหรือเหตุผลที่มีต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคลด้วย
แนวคิดเกี่ยวกับความวิตกกังวลและพฤติกรรมอปกติเชื่อว่าอาการของโรคประสาทเกิดจากการคิดที่ไม่มีเหตุผลส่งผลให้เกิดการกระทำที่ไม่มีเหตุผลซึ่งเป็น
ภาวะธรรมชาติที่เกิดขึ้นได้กับทุกคนบางสถานการณ์จิตพยาธิสภาพ (Psychopathology) เกิดจากการเรียนรู้และที่สำคัญคือการรับเอาความเชื่อที่ไม่มีเหตุผลมาจากบุคคลใกล้ชิด
ลักษณะความคิดที่ไร้เหตุผล
1.ทุกคนต้องรับหรือยอมรับเราด้วยความจริงใจ
2.เราเป็นคนมีคุณค่า มีความสามารถรอบตัว มีทุกอย่างพร้อมต้องประสบความสำเร็จในชีวิตและมีความเด่นดังไปทุกเรื่อง
3.บุคคลใดก็ตามซึ่งรวมถึงตนเองด้วย เมื่อกระทำความผิด
หรือเป็นบุคคลที่เลวทรามต่ำช้าจะต้องได้รับการลงโทษอย่างสาสม
4.ถ้าคาดหวังสิ่งใดแล้วไม่เป็นไปตามนั้น โลกนี้จะต้องพังทลาย
หรือทนไม่ไหวจนแทบคลั่งตาย
5.ความทุกข์มีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อมภายนอก ซึ่งตัวเรายัง
ไม่มีทางจะไปควบคุมอะไรได้เลย
6.สิ่งอันตรายและน่าสะพรึงกลัวอาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาจึงคอยแต่จะพะวงวิตกไว้ล่วงหน้าอยู่เสมอ
การคิดที่จะหลีกเลี่ยงความยุ่งยากและความรับผิดชอบ นับว่าเป็นการดีกว่าที่จะไปเผชิญหน้ากับมัน
8.เราต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่นตลอดเวลาและต้องคอยมองหาผู้อื่นให้ช่วยเหลือ
9.ประสบการณ์ในอดีตหรือเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นเมื่อครั้งก่อนเป็นเครื่องตัดสินพฤติกรรมของบุคคลในปัจจุบัน อิทธิพลของอดีตที่เป็นมาอย่างไรก็ไม่มีวันลบล้างไปได้
10.คนเราควรร่วมเป็นทุกข์ไปกับปัญหาของบุคคลอื่น
11.ปัญหาทุกปัญหาที่เกิดขึ้นจะต้องมีผลลัพธ์ที่ถูกต้องหรือดีที่สุด และเราจำเป็นต้องหาให้ได้ มิฉะนั้นจะต้องเกิดผลได้อย่างแน่นอน
ธรรมชาติของมนุษย์
1.มนุษย์ต่างจากสัตว์โลกทั้งหลาย มีค่านิยม สามารถคิด สามารถพัฒนาโครงสร้างความรู้คิดของตนได้ ประเมินค่านิยม ปรับเปลี่ยนค่านิยมเพื่อการมีพฤติกรรมใหม่ที่เหมาะสมได้
มนุษย์เกิดมาพร้อมกับศักยภาพที่จะมีเหตุผล แต่ไม่มีเหตุผลเพราะมีชีวิตที่ไม่มีเหตุผลมาตั้งแต่วัยเด็ก ปัจจุบันก็ยังคงดำเนินชีวิตอย่างผิดเพี้ยนไม่มีเหตุผลจึงเป็นคนที่มีปัญหาทางอารมณ์ที่ไม่เหมาะสมด้วยเช่น ท้อแท้ สิ้นหวัง ไร้ค่า ส่วนบุคคลที่มีเหตุผลมัก มีความสุขสดชื่นรื่นเริง
มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลและไร้เหตุผล การที่มีอารมณ์ที่ไม่มีเหตุผลมีสาเหตุมาจากความคิดความเชื่อที่ไร้เหตุผล แต่ถ้าเขาเรียนรู้วิธีคิดที่มี
เหตุผลมากขึ้น ลดการไร้เหตุผล จะเป็นสาเหตุที่ประสบสุขความสำเร็จในชีวิต
มนุษย์มีความต้องการสิ่งที่ดีงามในชีวิต หากบุคคลไม่ได้รับการตอบสนองในสิ่งที่ต้องการ มักกล่าวโทษหรือตำหนิตนเอง หรือผู้อื่น หากบุคคลได้ได้ความช่วยเหลือให้รู้จักปรับเปลี่ยนวิธีคิด และการรับรู้ที่ไม่มีเหตุผล ก่อให้เกิดพฤติกรรมในทางที่เหมาะสมขึ้น
ความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมของมนุษย์มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ซิด เมื่อบุคคลแสดงความรู้สึกเขาก็จะคิดและแสดงพฤติกรรมด้วย เมื่อแสดงพฤติกรรมเขาก็จะแสดงความรู้สึกด้วย เมื่อบุคคลคิดเขาก็จะแสดงความรู้สึกและพฤติกรรมด้วย
จุดมุ่งหมายทฤษฎี
ขั้นตอนการปรึกษา
ขั้นที่ 1 การให้การปรึกษาเน้นความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Counseling)เน้นการช่วยให้ผู้รับบริการยกเลิกความคิดที่ว่า จะเป็นบุคคลที่พร้อมทุกด้านเทคนิคที่นำมาใช้คือการสอน การทำให้ตระหนักการเรียนรู้อย่างแท้จริง
ขั้นที่ 2 การให้การปรึกษาด้านอารมณ์ (Emotive Counseling) ขั้นนี้จะเป็นการเปลี่ยนแปลงค่านิยมเพื่อให้ผู้รับบริการได้เห็นความแตกต่างระหว่างความจริงกับความหลอกลวง เทคนิคที่นำมาใช้เช่นบทบาทสมมุติ
ขั้นที่ 3 การปรึกษาด้านพฤติกรรม (Behavioral Counseling) ขั้นนี้สร้างขึ้นเพื่อช่วยพัฒนาให้ผู้รับบริการได้พัฒนารูปแบบของความคิดและพฤติกรรม เมื่อได้ตระหนักถึงพฤติกรรมในอดีตเทคนิคที่นำมาใช้เช่นการให้การบ้าน บทบาทสมมุติ
เทคนิค
1.ผู้ให้การปรึกษาจะปฏิบัติตนเหมือนนักต่อต้านโฆษณาชวนเชื่อโดยจะทำการเปิดเผยและจะต่อต้านกับการกระทำและคำพูดที่ไม่สมเหตุสมผล
2.ให้กำลังใจ โน้มน้าวจิตใจ หลอกล่อ และออกคำสั่งเพื่อต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อ
3.ใช้เทคนิคทางปัญญาเพื่อมาพัฒนาความคิดและทำให้ผู้รับบริการขจัดความคิดที่ไม่มีเหตุผลไปให้หมดสิ้น และพัฒนาความคิดที่มีเหตุผลขึ้นแทน
4.ผู้ให้การปรึกษาใช้เทคนิคทางอารมณ์ เช่น การจิตภาพ บทบาทสมมุติการฝึกการจัดการกับความอาย
5.ใช้เทคนิคทางพฤติกรรม เช่น การฝึกทักษะ การกล้าแสดงออก การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคล Transactional Analysis (TA)
จุดมุ่งหมายทฤษฎี
3.ช่วยให้ผู้รับการบริการสามารถใช้ Ego state ทั้ง3ส่วนของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.ช่วยให้ผู้รับการปรึกษารู้จักและเข้าใจในแง่มุมต่างๆทั้งส่วนที่ดีและส่วนที่ต้องปรับปรุงแก้ไข
1.ให้ผู้รับบริการหลุดพ้นจากอาการผิดปกติทางบุคลิกภาพ
4.ให้สามารถเปลี่ยนแปลงตนเองไปสู่ตำแหน่งI’m ok-You’re ok
แนวคิดทฤษฎี
การสื่อสารสัมพันธ์แบบขัดแย้งกัน
ทิศทางของลูกศรจะตัดกันแสดงถึงความขัดแย้ง
การสื่อสารสัมพันธ์แบบซ่อนเร้นเคลือบแฝง
การสื่อสารแบบนี้ใช้การสื่อสาร 2 ระดับ
ระดับสังคม
ระดับจิตวิทยา
มักจะเป็นการสื่อสารที่ประกอบด้วยภาวะอีโก้มากกว่า 2 ภาวะ
การสื่อสารสัมพันธ์แบบลงรอย
ทิศทางลูกศรของทั้ง2 ฝ่ายจะขนานกัน
C-C
P-C
A-A
ขั้นตอนการปรึกษา
2.การวิเคราะห์การสื่อสารระหว่างบุคคล(Transactionsanalysis)
3.การวิเคราะห์เกม(gamesanalysis)
1.การวิเคราะห์โครงสร้าง(structural analysis)
4.การวิเคราะห์บทชีวิต(script analysis)
เทคนิค
2.การชี้เฉพาะ(Specification)
3.การเผชิญหน้า(confrontation)
การถาม (interrogation)
4.การอธิบาย(explanation)
5.การแสดงภาพ(illustration)
6.การยืนยัน(confirmation
7.การตีความ(interpretation)
8.การเปลี่ยนแปลง(crystallization)
ธรรมชาติความเชื่อของมนุษย์
มนุษย์มีความสามารถที่จะเปลี่ยนใจบุคลิกภาพของตนเอง
ผลจากประสบการณ์ในอดีตเราตัดสินใจเลือกแนวทางในการดำเนินชีวิต
หากมีความกล้าพอที่จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงจากอิทธิพลจากอดีต
“เปลี่ยนได้เมื่อพร้อมที่จะเปลี่ยน”
พื้นฐานทฤษฎี
Eric Berne
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ใหม่
เชื่อเรื่องสภาพแห่งตน (ego state)
ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการให้การปรึกษาแบบวิเคราะห์ลักษณะบุคคลและองค์ประกอบ
ผู้ก่อตั้งทฤษฎี
เอ็ดมันด์ กริฟฟิธ วิลเลียมสัน
จอนห์ ดาร์ลีย์
สาระสำคัญของทฤษฎี
ให้ความสำคัญต่อความแตกต่างกันของแต่ละบุคคลซึ่งสามารถเปลี่ยนและพัฒนาได้
มุ่งเน้นให้บุคคลรู้จักตัวเองและสามารถตดสินใจเลือกงานหรือกิจกรรมที่สอดคล้องกับตัวเอง และเข้าใจตนเองด้านความถนัด ผสัมฤทธิ์ บุคลิกภาพ ความสนใจ และสามารถปรับตนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม
เชื่อว่ามนุษย์มีความแตกต่างกันและสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการของบุคคล
ธรรมชาติของมนุษย์
มนุษย์มีลักษณะประจำตัวและมีความแตกต่างกัน
ลักษณะด้านต่างๆของบุคคลเมื่อนำมารวมเข้าด้วยกันจะเป็นองค์รวมของบุคคลนั้น
มนุษณ์มีความสามารถที่จะพัฒนาตนเองให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมและอาชีพได้
ยิ่งบุคคลมีลักษณะที่สอดคล้องกับอาชีพมากเท่าใด ก็จะยิ่งมีแนวโน้มที่จะพอใจในงานและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่านั้น
ความสามารถและความถนัดของบุคคลจะต้องมีความสอดคล้องกับงาน ไม่อย่างนั้นก็อาจจะทำให้บุคคลแสดงศักยภาพของตนอย่างไม่เต็มที่
การปรับตัวไม่ได้ของมนุษย์เกิดจากการที่ไม่เข้าใจตนเอง ไม่รู้ความสามารถของตัวเอง หรือไม่ตระหนักถึงความสามารถ จึงไม่สามารถเลือกเส้นทางที่เหมาะสมกับตัวเองได้
ขั้นตอนการให้คำปรึกษา
ขั้นวินิจฉัย
ขั้นวางแผนปฎิบัติ
ขั้นช่วยการเข้าใจตนเองและสิ่งแวดล้อม
2.1 การรวบรวมข้อมูล
อาจใช้กับเครื่องมือ 6 ลักษณะคือ
3. อัตตชีวประวัติ
ช่วยให้เห็นเหตุการณ์ในชีวิต
4. ระเบียนพฤติกรรม
เป็นสิ่งที่บอกปัญหาของCEที่ไม่พบในแบบทดสอบ
2. บันทึกกิจวัตรและการใช้เวลา
ช่วยให้เห็นว่าCEใช้เวลาเหมาะสมหรือไม่ และช่วยบอกสิ่งที่CEควรเปลี่ยนแปลง
5. การทดสอบทางจิตวิทยา
ระเบียนสะสม หรือ แฟ้มข้อมูลส่วนตัว
ช่วยให้ข้อมูลและช่วยให้เห็นอดีตของผู้เข้ารับบริการ
6. การสัมภาษณ์
2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล
เป็นการบ่งบอกลักษณะของCE จาก6แหล่ง
2.3 การสังเคราะห์ข้อมูล
การนำเอาข้อมูลมากผนวก เพื่อบอกลักษณะเด่นและด้วย
ขั้นปฎิบัติตามแผน
ขั้นสร้างสัมพันธภาพ
ขั้นส่งต่อเพื่อรับการช่วยเหลือเฉพาะทาง
ขั้นประเมิณและติดตามผล
เทคนิค
การแนะนำ
การเสนอแนะ
การทำนายแนวโน้ม
ทำนายผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทำ
การประเมิณ
การวินิจฉัย
ช่วยให้เข้าใจปํญหาและเข้าใจตนเอง
การเสริมกำลังใจ
การสังเคราะห์
การนำเอาข้อมูลแต่ละส่วนมารวมกันและบอกลักษณะบุคลิกภาพ
การกระตุ้นเร้าให้ปฎิบัติ
การวิเคราะห์
เครื่องมือและแบบทดสอบ
การให้แรงเสริม
กล่าวชม