Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abdominal injury - Coggle Diagram
Abdominal injury
อาการและอาการแสดง
-
-
-
-
-
-
-
-
มีอาการ shock จากการเสียเลือด เช่น
-
-
-
Spleen injury
กายวิภาค
ม้าม เป็นอวัยวะที่มีแคปซูล รูปทรงรี คล้ายเมล็ดถั่ว มีขนาดเท่ากำปั้น อยู่ใต้กระบังลงด้านซ้าย ใกล้กับตับอ่อนและไตข้างซ้าย มีน้ำหนักประมาณ 100 - 200 กรัม มีหลอดเลือด Splenic artery และจะมีเลือดจากม้ามไหลไปสู่ตับ
การทำงาน
2.Immunologic function
สร้าง Immunoglobulin โดยเฉพาะ Ig M เพื่อตอบสนองต่อ encapsulated bacteria สร้าง Monocytes, Lymphocyte ใน Red pulp จะมี Macrophages ที่คอยดักจับเชื้อโรคในกระแสเลือด
1.Hematologic function Mochanical fitration
- ทำลายเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุ
- สร้างเม็ดเลือดแดงในระยะเอ็มบริโอ
- กำจัดเชื้อโรคในกระแสเลือดและซ่อมแซมเม็ดเลือดแดงที่ผิดปกติให้ทำงานได้ปกติ
สาเหตุการบาดเจ็บ
ส่วนใหญ่จะเกิดจากแรงกระแทก เช่น
- ตกจากที่สูง
- อุบัติเหตุจากการจราจร
- โดยมีการกระแทกบริเวณช่องท้องบนด้านซ้าย
อาจบาดเจ็บร่วมกับซี่โครงด้านซ้ายซี่ล่างหัก การบาดเจ็บกระบังลมซ้าย ตับอ่อนและลำไส้ใหญ่
อาการและอาการแสดง
- ปวดท้องด้านซ้ายบนร้าวไปไหล่ เนื่องจากมีการระคายเคืองต่อเส้นประสาทที่เลี้ยง
- กดเจ็บบริเวณท้องซ้ายส่วนบน
- กระบังลม กล้ามเนื้อหน้าท้องเกร็งเมื่อถูกกด
- ท้องอาจโป่งจากเลือดออก
- หากมีเลือดออกมากจะทำให้มีอาการ shock จากการเสียเลือด เช่น ความดันโลหิตต่ำ ชีพจรเร็ว เนื่องจากม้ามเป็นอวัยวะที่มีแคปซูลหุ้มการบาดเจ็บ อาจเกิดเฉพาะที่แคปซูลหรือเกิดที่ตัวม้าม
-
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
-
-
การดู
ดูความผิดปกติของผิวหนัง เนื้อเยื่อบริเวณหน้าท้อง เอว หลัง เช่น การบวมช้ำ เลือดออก ถลอก กระดูกซี่โครงหักใกล้ม้าม ท้องโต ตึง
-
การตรวจพิเศษ
- Chest X-ray : วินิจฉัยการบาดเจ็บของอวัยวะ
- CT abdomen : ดูรายละเอียดของแต่ละอวัยวะในช่องท้อง
- Focus assessment sonography of trauma : หาของเหลวในช่องท้อง ระบุการบาดเจ็บของอวัยวะ
การประเมินการบาดเจ็บ
เบื้องต้นดูแลตามหลัก Advance Trauma Lift Support (ALTS) โดยอาจเกิดจากการฉีกขาดของม้าม และเกิด Secondary injury, Blunt injury เช่น ซี่โครงหักแทงม้าม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- CBC : Hct, Hb
- Electrolyte
การซักประวัติ
การได้รับแรงกระแทกที่บริเวณท้อง ลำตัว ชายโครงหรือสีข้างอย่างรุนแรง ผู้ป่วยมักมีอาการปวดท้องด้านซ้ายร้าวไปไหล่ซ้าย
การรักษา
การไม่ผ่าตัด
เป็นทางเลือกแรกในการรักษาการบาดเจ็บที่ม้ามจากแรงกระแทก เพื่อหลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากหลังผ่าตัดม้าม
การรักษาโดยไม่ผ่าตัดจะทำในผู้ที่มีสัญญาณชีพปกติและไม่มีการบาดเจ็บอื่นร่วม มักจะเป็นการบาดเจ็บที่มีความรุนแรงระดับ 1 - 3
วิธีการรักษา
2.อุดด้วยสารห้ามเลือด (Angioembolization) ซึ่งอาจมีอาการแทรกซ้อนในภายหลัง ได้แก่ ม้ามขาดเลือด เป็นหนอง เลือดออก ปอดแฟบและมีสารเหลวในโพรงเยื่อหุ้มปอดด้านซ้าย (left pleural effusion)
- ติดตามค่าความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง ประเมินและตรวจร่างกายซ้ำเป็นระยะๆ
1.ให้นอนพักบนเตียงนาน 48 - 72 ชั่วโมง หลังจากนั้นลุกลงจากเตียงได้ และแนะนำให้ออกกำลังกายเบาๆ หลังจำหน่าย
- รายที่บาดเจ็บไม่รุนแรง ห้ามทำงานหนักเป็นเวลาอย่างน้อย 4 - 6 สัปดาห์
- รายที่บาดเจ็บต้องงดทำงานหนักประมาณ 2 - 4 เดือน
4.การตรวจพิเศษเพิ่ม หรือซ้ำในรายที่ไม่แน่ใจ หากไม่พบความผิดปกติแพทย์จะอนุญาตให้ลุกลงจากเตียงได้เมื่อครบ 48 ชั่วโมงหลังการบาดเจ็บ และเริ่มรับประทานอาหารอ่อนได้
การผ่าตัด
อาจเอาม้ามออกบางส่วนหรือตัดออกทั้งหมด (total splenectomy) จะทำในรายที่ได้รับบาดเจ็บรุนแรงและการไหลเวียนเลือดไม่ปกติ
ข้อบ่งชี้
2.ความดัน Systolic มากกว่า 90 mmHg แต่ต้องให้เลือดหรือยาเพื่อเพิ่มความดันเลือดร่วมกับพารามิเตอร์อื่นที่ผิดปกติ เช่น ค่าความเป็นด่างเกิน (base excess) มากกว่า 5 mmol/L ดัชนี shock มากกว่า 1 ให้เลือดอย่างน้อย 4 - 6 ยูนิต ภายใน 24 ชั่วโมงแรก หรืออายุ 55 ปีขึ้นไป ร่วมกับคะแนนการบาดเจ็บสูง
3.แพทย์อาจพิจารณาจากปัจจัยอื่นๆ ร่วมด้วย ได้แก่ การบาดเจ็บหลายระบบ มีประวัติได้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
1.ความดัน Systolic ต่ำกว่า 90 mmHg ร่วมกับมีอาการหลอดเลือดหดตัว ผิวหนังเย็นชื้น capillary refill คืนตัวนานกว่าปกติ ระดับความรู้สึกตัวลดลง หายใจตื้น
Liver injury
กายวิภาค
ตับ เป็นอวัยวะที่มีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยมหรือลิ่ม มีขนาดประมาณ 21-22.5 x 15-17.5 ชม. หนาประมาณ 10-12.5 ซม. ในผู้ชายตับมีน้ำหนักประมาณ 1,800 กรัม ส่วนผู้หญิงตับจะหนักประมาณ 1,400 กรัม ตับมีแคปซูลหุ้ม อยู่ใต้กระบังลมขวา ด้านล่างเป็นถุงน้ำดีและลำไส้ใหญ่ส่วนกลาง มีหน้าที่กำจัดสิ่งที่เป็นพิษจากเลือด ผลิตน้ำดี สร้างอัลบูมิน สะสมธาตุเหล็กที่เกิดจากการสลายของฮิโมโกลบิน เปลี่ยนแอมโมเนียเป็นสารยูเรียเพื่อขับออกทางปัสสาวะ และสร้างสารที่เป็นปัจจัยในการแข็งตัวของเลือด (coagulation factors)
ตับแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ กลีบขวามีขนาดใหญ่ที่สุด และกลีบซ้ายเป็นส่วนที่เล็กกว่า
ตับแบ่งออกเป็นส่วนย่อย (Couinaud's segment) 8 ส่วน
อาการและอาการแสดง
- ปวดท้อง ตึงท้อง
- มีรอยช้ำบริเวณท้องด้านขวา
- ปวดร้าวไปไหล่ขวา
- BP ต่ำ ทั้งที่มีการให้สารน้ำอย่างเพียงพอ
การแบ่งความความรุนแรง
ระดับที่ 1
- เลือดออก : เลือดออกใต้แคปซูล < 10% ของพื้นผิว และก้อนเลือดไม่ขยาย
- การฉีกขาด : แคปซูลฉีกขาดลึกไม่เกิน 1 cm และไม่มีเลือดออก
ระดับที่ 4
- เลือดออก : มีเลือดออกในเนื้อตับและเลือดไหลไม่หยุด
- การฉีกขาด : ตับถูกทำลาย 25 - 75% หรือ ตับกลีบเดียวถูกทำลาย 1 - 3 ส่วน
ระดับที่ 3
- เลือดออก : เลือดออกใต้แคปซูล > 50% ของพื้นผิว หรือก้อนเลือดโตขึ้น หรือมีเลือดออกไม่หยุด เนื้อตับมีเลือดออกเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 เซนติเมตร หรือแคปซูลฉีกขาดร่วมกับเลือดไหลไม่หยุด
- การฉีกขาด : มีการฉีกขาดของตับลึก > 3 cm
ระดับที่ 5
- การฉีกขาด : ตับถูกทำลาย (Parenchymal disruption) > 75% หรือกลีบตับกลีบเดียวถูกทำลาย > 3 ส่วน
(3 Couinaud's segment within a single lobe)
- หลอดเลือด : มีการบาดเจ็บของหลอดเลือดดำที่เลี้ยงตับ (Juxtahepatic venous injury)
ระดับที่ 2
- เลือดออก : เลือดออกใต้แคปซูล 10 - 50% หรือเลือดออกในเนื้อตับเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 cm
- การฉีกขาด : แคปซูลฉีกทะลุเนื้อตัวลึก 1 - 3 cm ยาวไม่เกิน 10 cm
-
การรักษา
การผ่าตัด
- แพทย์จะทำการผ่าตัดในรายที่บาดเจ็บระดับความรุนแรง 4 ขึ้นไป
- เนื้อตับส่วนนั้นขาดเลือดไปเลี้ยงหรือมีก้อนเลือดขนาดใหญ่ > 3 cm ซึ่งจะพบ PR เร็ว BP ต่ำ
- หลังบาดเจ็บปวดท้องรุนแรงขึ้น ท้องแข็งตึง มีอาการของเยื่อบุช่องท้องอักเสบ หรือ Hct ลดลง
- อาการแทรกซ้อน : การรั่วของทางเดินน้ำดี ฝีในตับ ติดเชื้อในท้อง ลำไส้อุดตัน ไส้เลื่อนจากผนังหน้าท้องบาง
การไม่ผ่าตัด
- รายที่บาดเจ็บระดับความรุนแรง 1 - 3
- Vital signs ปกติ ไม่มีการบาดเจ็บร่วมของอวัยวะอื่น ไม่มีอาการของเยื่อบุช่องท้องอักเสบ (Peritonitis)
- รักษาตามอาการ ได้แก่ Absolute bed rest NPO on IV on NG tube Retain foley's catheter Record V/S อย่างใกล้ชิด
ติดตาม Hct ทุก 4 - 6 ชม.
- รายที่มีหนองหรือน้ำดีรั่ว แพทย์อาจทำ Percutaneous drainage (ใส่ท่าระบายททางหน้าท้อง)
- รายที่มีเลือดออกจากหลอดเลือด แพทย์อาจทำ Angiogram embolization (ฉีดสารเพื่ออุดตันหลอดเลือด)
- อาการแทรกซ้อน : เลือดออกภายหลัง น้ำดีรั่วและสะสมในช่องท้อง (Biloma) เยื่อบุช่องท้องอักเสบ ปวดท้องด้านขวาบน และมีไข้
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
- มีประวัติได้รับการกระแทกบริเวณลำตัวหรือชายโครงด้านขวาอย่างรุนแรง
- มีประวัติได้รับการบาดเจ็บทรวงอกขวาด้านล่างหรือท้องด้านบนตรงกลางบริเวณลิ้นปี่
- มีประวัติกระดูกซี่โครงขวาล่างหัก
- บริเวณหน้าท้อง เอว หลัง พบรอยฟกช้ำ รอยถลอก รอยคาดเข็มขัด บวม หรือมีวัสดุปักคา มีรูทะลุจากของมีคม
- ปวดบริเวณท้องด้านบน อาจร้าวไปยังไหล่ขวา
- คลื่นไส้อาเจียน กระหายน้ำ เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
- มีเลือดออกในช่องท้องมาก ซึ่งอาจพบ BP ต่ำ ตัวเย็น เหงื่อออก กระสับกระส่าย หายใจเร็ว หน้าท้องตึง (Guarding) ซึมลงเเเละช็อกจากการเสียเลือดได้
- bowel sound ลดลง
การตรวจทางรังสีวิทยา
- อัลตราซาวด์ช่องท้อง (focus assessment sonographic for trauma: FAST)
- เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องท้อง (computed tomography: CT scan)
-
Pancrease injury
กายวิภาคศาสตร์
ตับอ่อนมีลักษณะอ่อนนุ่ม ยาวประมาณ 6-9 นิ้ว หนาประมาณ 1 นิ้ว อยู่ในตำแหนงของ epigastric และ Hypochondriac Regionด้านซ้ายของหน้าท้อง อยู่ด้านหลังของเยื่อบุช่องท้อง โดยอยู่หลังโค้งใหญ่ของกระเพาะอาหาร มีท่อน้ำดีซึ่งรับน้ำตีมาจากตับและขับน้ำดีสูงลำไส้เล็กส่วนต้น
-
-
การวินิจฉัย
1.Serum amylase โดยทำ serial ทุก 6 ชั่วโมง หากพบระดับของ serum amylase สูงขึ้นเรื่อยๆ มักเป็นข้อบ่งชี้ได้
-
3.plain abdomen ในระยะแรกมักไม่เป็นประโยชน์ แต่หากมีการแตกของ Duodenum เข้า retroperitoneum จะพบเงาแก๊ส หรือ อาจเห็นเงาของ sofe tissue mass ใน retroperitoneum หรือ C-loop กว้าง colon ถูกดันลง
4.Water soluble opague media โดยการกลืนหรือให้ทาง NG จะช่วยได้เมื่อมีการ leakage หรือกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กถูกเบียด
-
การรักษา
-
-
-
การรักษาตามการบาดเจ็บ
- pancreas มีรอยช้ำ capsule และ Pancreatic duct ไม่ฉีกขาด และไม่มี persistence bleeding
-
- pancrease ส่วน body หรือ tail ฉีกขาดแต่ไม่มีการฉีกขาดของ Pancreatic duct
- เย็บซ่อมด้วย non-absorbable suture 4-0
- วาง drain เพื่อ ระบายเลือด
- pancreas ส่วน body หรือ tail และ Pancreatic duct ฉีกขาด
- distal pancreeatectomy with splenectomy
- raw surface ของส่วน proximal หา Pancreatic duct ที่ฉีดขาด แล้วผูกด้วย non-absorbable suture 4-0 เพื่อป้องกันการเกิด fistul
- ถ้าบริเวณ head มีรอยช้ำบวม ทำ Roux-en-Yแล้วเอา jejunum มาต่อครอบ raw surface ของส่วน proximal
- วาง sump & penrose drain
- pancreas ส่วน head ฉีกขาดเป็นส่วนที่รักษาค่อนข้างยาก การรักษาต้องพิจารณา เป็นราย ๆ ไปจากสภาพของผู้ป่วย ระยะเวลา การบาดเจ็บของอวัยวะอื่นร่วม และความสามารถในการทำผ่าตัด
- เฉพาะเนื้อของ pancreas ฉีกขาดแต่ไม่มีการฉีกขาดของ Pancreatic duct
- เย็บซ่อม pancreas และวาง drain
- pancreas ฉีกขาดร่วมกับมี duodenum ฉีกขาดร่วมด้วยแต่ไม่มีการฉีกขาดของ Pancreatic duct
- เย็บซ่อม duodenum และpancreas,gastrojejunostomy และpyloric occlusion
- pancreas และ pancreatic duct ฉีกขาด
แต่ไม่มีการฉีกขาดของ duodenum
- ถ้าส่วน proximal เหลือเนื้อของ pancreas เกิน 20% ทำ
-
- ผูก duct ละเย็บปิด raw surface ส่วน
- ถ้าส่วน proximal เหลือเนื้อของ pancreas < 20% ทำ
- ผูก duct และเย็บปิด raw surface ส่วน proximal
- ทำ Roux en-Y เอา jejunum มาต่อครอบ raw surface ของส่วน distal
- pancreas และ duodenum บาดเจ็บอย่างรุนแรง จนไม่สามารถไว้หรือเย็บซ่อมได้
-
- แผลประมาณ 2 ซม. การเย็บอาจเย็บธรรมดา, simple horizontal mattress หรือ figure of eight ก็ได้
- แผลลึก ควรเปิดแผลที่แตกของตับ แล้วจับจุดที่ เลือดออกไปทีละจุด และไม่ต้องเย็บรอยแตกมาประกบกัน
- แผลลึกมาก ไม่สามารถใช้วิธีที่กล่าวมาแล้วได้หรือมีเนื้อเยื่อตายมาก อาจจะต้องทำ hepatic artery ligation หรือhepatic resection
สรีรวิทยา
1.Exocrine function
มีการผลิตน้ำย่อย วันละประมาณ 5-800 มล. ลักษณะ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีฤทธิ์เป็นด่างผลิตจาก acinar cell และ duct cell ได้แก่ amylase , protease , lipases enzymeย่อย คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
2.Endocrine function
มีการทำงานจาก Islet cell ได้แก่ การทำงานของ Insulin , glucagon และ somatostatin
-
-
กลไกการบาดเจ็บ
- Blunt mechanism : บาดเจ็บจากแรงกระแทก
- Penetrating mechanism : บาดเจ็บจากการวัตถุที่มีอำนาจทะลุทะลวง