Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chest injury, นศพต.ณัฐชยา หมายมั่นเลขที่ 20 นศพต.ทัศนียาพร…
Chest injury
Lung
Pneumothorax
-
1.Simple/Closed Pneumothorax
-มีลมค้าง แต่ไม่รั่วต่อเนื่อง
-ความดันในช่องเยื่อหุ้มปอดยังคงเป็นลบหรือต่ำกว่า
สาเหตุ
- อาจเกิดจากแรงกระแทกซี่โครงหักและทิ่มเข้าไปใน pleural cavity -> เกิดการฉีกขาด
- การทำหัตถการที่ทรวงอก
อาการและอาการแสดง
-แน่นหน้าอก เจ็บแน่นชายโครงหรือลิ้นปี่
เสียงลมเข้าปอดลดลง
-เคาะได้เสียงโปร่ง
X-ray พบ Lung Atelectasis
รักษา
-ลมน้อย ->สังเกตอาการติดตามผล X-ray
-ลมมาก-> ใส่ ICD (Intercostal chest drainage)
-ให้ O2 ความเข้มข้นสูง ช่วยการดูดซึมกลับของลมในเยื่อหุ้มปอด
-
2.Tension Pneumothorax ลมรั่วไม่หยุด->มีความดันบวกเพิ่ม เกิด tension effect ต่ออวัยวะช่วงอก เช่น หลอดลม หัวใจ
สาเหตุ
- blunt chest injury
- การทำหัตถการใกล้ทรวงอก
อาการและอาการแสดง
- อาการของการหายใจ และหัวใจถูกกด เช่น กระสับกระส่าย หายใจหอบเหนื่อย แน่นหน้าอก หัวใจเต้นเร็ว BPต่ำ
- เคาะปอดเสียงโปร่ง (hyperresonance)
- Trachea shift ไปด้านตรงข้ามกับปอดข้างที่มีพยาธิสภาพ
การรักษา
Needle thoracentesis ในภาวะเร่งด่วน โดยใช้เข็มปักที่5 intercostal space, anterior mid-axillary line เข้าโพรงเยื่อหุ้มปอดเพื่อระบายลมออก
-
-
3.Open Pneumothorax ภาวะลมในเยื่อหุ้มปอดชนิดมีแผลเปิด
พยาธิเกิดจาก penetrating chest injury
ทำให้เกิดช่องเชื่อมต่อระหว่างอากาศภายนอกกับในช่องอก แผลกว้างพอที่ทำให้ลมผ่านเข้าออกได้อย่างอิสระ
หายใจเข้าลมจะถูกดูดเข้าทางแผล ขณะหายใจออกลมจะถูกดันออก เกิดเสียงฟืดฟาดขณะหายใจ เกิดAir trapping (การสะสมของอากาศภายในช่องอก ->Atelectasis)
- แผลเล็ก ทำให้แผลมีลักษณะเป็นลิ้น ( valve )
ลมเข้าแต่ออกไม่ได้/น้อย อากาศเพิ่มขึ้น -> Tension pneumothorax
สาเหตุ
อาการและอาการแสดง
- ปวดบริเวณที่มีพยาธิสภาพ
- pluse เร็ว RR เร็ว
การรักษา
- ปิดแผลด้วย 3 - side sterile occlusion dressing ด้วย วาสลินก๊อซ เพื่อป้องกันไม่ให้ลมเข้าทางบาดแผล แต่ให้ลมออกได้
- ใส่ ICD (Intercostal chest drainage)
-
Hemothorax
สาเหตุ
- การฉีกขาดของเนื้อปอดหรือเส้นเลือดที่ปอดจาก
blunt chest injury หรือ penetrating chest injury
- การฉีกขาดของหลอดเลือดที่เลี้ยงช่องซี่โครงและหลอดเลือดแดงที่เลี้ยงเต้านม (Internal mammary artery)
ความรุนแรงขึ้นอยู่กับปริมาณเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด
- Mild hemothorax 200 - 500 ml
- Moderate hemothorax > 500 -1500 ml
- Massive hemothorax >1500ml ขึ้นไป
อาการและอาการแสดง
- หายใจเร็ว ตื้น
- แน่นหน้าอก
- เคาะทรวงอกจะได้เสียงทึบ
- ฟังเสียงปอด ได้ Increase missed sound ในข้างที่มีพยาธิสภาพ
- อาจเกิดภาวะ shock ได้ (ซีด สับสน pulse เบาเร็ว BP drop )
การรักษา
- Mild hemothorax สังเกตV/Sอย่างใกล้ชิด
- Moderate hemothorax ได้รับการรักษาด้วยการใส่ ICD
- Massive hemothorax ระวังเลือดออกเยอะอาจทำให้เกิดอาการ shockได้ เนื่องจาก มีเลือดภายในช่องเยื่อหุ้มปอดทำให้เกิดการเบียด Mediastinum ไปยังด้านตรงข้าม ทำให้หัวใจถูกเบียด และเลือดกลับเข้าสู่หัวใจไม่ได้ตามปกติ -> ภาวะ shock
อาจต้องทำการ ผ่าตัดเปิดทรวงอก (Thoracotomy)
-
พยาธิ
Pleural cavity มีความดันลบ มีส่วนช่วยในกาารขยายตัวของปอดเมื่อหายใจเข้า ซึ่งอยู่ระหว่าง parietal pleura และ visceral pleura ภายในจะมี pleura fluid >3 CC จาก parietal pleura มาหล่อเลี้ยง และดูดกลับทาง visceral pleura
-
mediastinumอยู่ตรงกลางของช่องอก
ประกอบด้วยหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ของหัวใจ หลอดอาหาร ท่อลม เส้นประสาทกะบังลม (phrenic nerve)
-
-
Rib
กระดูกซี่โครงหัก (Rib fracture)
ซี่โครงอาจหักซี่เดียวข้างเดียวหรือหักทั้ง 2 ข้าง ซึ่งอาจมีการฉีกขาดของหลอดเลือดร่วมด้วย อันตรายที่พบขึ้นอยู่กับตำแหน่งของกระดูกที่หัก
- ซี่โครงซี่ที่ 1-3 หากมีการหักมักเกิดจากแรงกระแทกรุนแรงทำให้มีการฉีกขาดของหลอดเลือดใหญ่และหลอดลมคอ
- ซี่โครงซี่ที่ 4-9 พบบ่อยเกิดจากแรงกระแทก ทำให้เกิดอันตรายต่อปอดและหัวใจ
- ซี่โครงซี่ที่ 10-12 เกิดการบาดเจ็บต่ออัวยวะภายในช่องท้องโดยเฉพาะตับและม้าม
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดบริเวณที่มีพยาธิสภาพโดยเฉพาะขณะหายใจเข้า ทำให้หายใจตื้น ไม่กล้าไอ การแลกเปลี่ยนออกซิเจนไม่มีประสิทธิภาพ เสมหะคั่ง เจ็บเมื่อกดบริเวณที่หัก
การรักษา
ลดปวดโดยการให้ยาระงับปวดและให้ผู้ป่วยพักผ่อนได้อย่างเพียงพอ โดยอาการปวดจะหายภายใน 2-3 สัปดาห์ และซี่โครงที่หักจะติดเองตามธรรมชาติภายใน 6 สัปดาห์ และ ควรดูแลไม่ให้ส่วนที่หักนั้นเกิดการเคลื่อนไหว โดยการใช้ผ้า Elastic
ภาวะอกรวน (Flail chest)
หมายถึง
ภาวะที่มีซี่โครงหักอย่างน้อย 3 ซี่ ติดต่อกันโดยแต่ละซี่หักตั้งแต่ 2 ตำแหน่งขึ้นไป สาเหตุส่วนใหญ่มาจากแรงกระแทกภายนอก เช่น กระแทกพวงมาลัยรถยนต์ ตกจากที่สูง เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
ทรวงอกบริเวณที่กระดูกซี่โครงหักยุบเข้าขณะหายใจเข้าและนูนออกขณะหายใจออก (paradoxical movement) ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง ทำให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง และมีอาการปวดหากมีการหักหลายตำแหน่ง ทำให้หายใจเร็วตื้นและลำบาก ไม่ไอ มีการอุดตันของเสมหะและปอดแฟบ บางรายได้ยินเสียงซี่โครงที่หักเสียดสีกัน
การรักษา
หลักการรักษา คือ
- ช่วยให้ผู้ป่วยมีการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวก(positive end expiratory pressure : PEEP) เพื่อให้ปอดขยายดีขึ้น ลดอาการปวดและรักษาภาวะแทรกซ้อน
- ให้กระดูกส่วนที่หักอยู่นิ่ง (stabilizing chest wall)โดยการใช้มือกดหรือให้ผู้ป่วยนอนทับด้านที่มีพยาธิสภาพ
-
กระดูกไหปลาร้าหัก (Clavicle fracture)
ส่วนใหญ่มักหักบริเวณกึ่งกลางของกระดูก (Midshaft fracture) สาเหตุเกิดจาการได้รับแรงกระแทกโดยตรง ได้แก่ ถูกเหยียบ ถูกวัตถุหนักๆตกทับ
-
การรักษา
กรณีที่ไม่ผ่าตัด
ให้ส่วนที่หักอยู่นิ่งโดยการใส่ผ้าคล้องแขนหรือใส่อุปกรณ์พยุงไหล่ ประมาณ 3 สัปดาห์ ร่วมกับให้ยาระงับปวด โดยกระดูกที่หักจะติดได้เองภายใน 10-12 สัปดาห์
ผ้าคล้องแขน (Arm sling)
อุปกรณ์พยุงไหล่ (Figure of eight)
กรณีผ่าตัด
โดยการผ่าตัดจะใส่เหล็กดามยึดตรึงกระดูก เพื่อให้กระดูกติดดีขึ้น โดยหลังผ่าตัด 2 สัปดาห์แรก ห้ามกางแขนเกิน 90 องศา และควรใส่ผ้าคล้องแขนประมาณ 6 สัปดาห์
-
-
-
Chest Anatomy
ภายในทรวงอกประกอบด้วยหลอดลม ท่อหลอดลม ปอด หลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำใหญ่ หลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำปอด เยื่อหุ้มปอด โพรงเยื่อหุ้มปอดและกระบังลม หัวใจ
-
-
-
-