Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แบบแผนสุขภาพ (Functional health patterns) - Coggle Diagram
แบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ความหมายของแบบแผนสุขภาพ
แบบแผนการประเมินสุขภาพ เป็นกรอบแนวคิดที่มาจาก มาร์จอรีย์กอรด์อน
ใช้เป็นแนวคิดในการประเมินภาวะสุขภาพของบุคคล ครอบครัวหรือชุมชน
ประเมินจากพฤติกรรมทั้งภายนอกและภายใน
11 แบบแผนกอร์ดอน
1.แบบแผนการรับรู้สุขภาพและการดูแลสุขภาพ
ความรู้การดูแลสุขภาพตนเอง
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันความเจ็บป่วย ดูแล รักษาและฟื้นฟูร่างกาย
รวบรวมเข้ามูลเพื่อประเมินความคิด ความเข้าใจต่อภาวะสุขภาพของตนเอง
รวบรวมซักประวัติและตรวจร่างกาย
2.แบบแผนด้านโภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
ประเมินพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ควรได้รับ
ปัจจัยต่างๆ มีอิทธิพลต่อการได้รับสารอาหาร น้ำ เกลือแร่
ประเมินการทํางานร่างกายเกี่ยวกับโภชนาการ เช่น การเคี้ยว กลืน ย่อย
3.แบบแผนการขับถ่ายของเสีย
แบบแผนการจัดการของเสียออกจากร่างกาย
ประเมินการขับถ่ายลักษณะ ปริมาณ จํานวนครั้ง
การประเมินความเสี่ยงและการจัดการกับภาวะการขับถ่ายของผู้ป่วย
4.แบบแผนด้านการมีกิจกรรมและการออกกําลังกาย
การประเมินความสามารถในเชิงปฏิบัติ เช่น การออกกําลังกาย
ประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจําวัน
ประเมินความสามารถการดํารงชีวิตประจําวัน
5.แบบแผนการนอนหลับพักผ่อน
แบบแผนคุณภาพการนอนหลับ
ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการนอนหลับ
6.แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้
แบบแผนประเมินความสามารถทางสติปัญญา
แบบแผนประเมินการรับรู้ความรู้สึกและการตอบสนองทั้ง 5 ทางของร่างกาย
7.แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
แบบวัดคซึมเศร้า
แบบสัมภาษณ์สุขภาพจิตแต่ละวัย
แบบประเมินความคิด ความเครียด
8.แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ
แบบประเมินการมีสัมพันธภาพของครอบครัว
แบบประเมินสาธารณะสุขมาปฎิบัติ หน้าที่ดูแลความเจ็บป่วย
9.แบบแผนเพศสัมพันธ์และการเจริญพันธุ์
การซักประวัติผู้รับบริการเพศหญิงในการมีประจําเดือน เริ่มมีเมื่อใด และมีแต่ละครั้งกี่วัน อาการตอนมีประจําเดือน จํานวนบุตร
สังเกตและตรวจร่างกายดูพฤติกรรมการแต่งกาย สีหน้าท่าทาง การพูด การตรวจร่างกาย อวัยวะเพศและเต้านม
10.แบบแผนการเผชิญความเครียดและความทนต่อ ความเครียด
แบบประเมินอารมณ์และความเครียด
แบบประเมินสุขภาพจิต
11.แบบแผนค่านิยมและความเชื่อ
การซักประวัติรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแบบแผนคุณค่าและความเชื่อ
องค์ประกอบของแบบแผนสุขภาพแต่ละแบบแผน
พฤติกรรมภายนอก
พฤติกรรมที่เป็นคำพูดและไม่ใช่คำพูด
การตรวจโดยใช้เครื่องมือทางการแพทย์
การกระทำที่แสดงออกมาให้สังเกตเห็นได้ รับรู้ได้ หรือใช้เครื่องมือ ตรวจสอบได้
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่นการตรวจเลือด
ปัจจัยส่งเสริมพฤติกรรมและอปุสรรค
พฤติกรรมภายนอกและภายในจะมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน
พฤติกรรมภายในเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมภายนอก
พฤติกรรมภายใน
พฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า
ใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตรต์รวจสอบได้โดยตรง
เจตคติซึ่งประกอบด้วยความรู้สึก ความคิดเห็น ค่านิยมของบคุคล
กระบวนการทางการพยาบาล
(Nursing Process)
การประเมินผล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การนําไปปฎิบัติ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การจัดระบบข้อมูล
การบันทึกข้อมูล
ข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
ข้อมปรนัย (Objective data)
เป็นการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาจัดให้เป็นหมวดหมู่
ได้จากการซักประวัติ ตรวจร่างกาย