Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(การดูเเลผู้ป่วยรายนี้โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ, การดูเเลผู้ป่วยรายนี้ในบทบาทพยา…
การดูเเลผู้ป่วยรายนี้โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ
บทบาทของพยาบาล
พยาบาลมีบทบาทในการดูเเลเพื่อตอบสนองความต้องการทางร่างกาย จิตใจ เเละอารมณ์ โดยใช้กระบวนการทางพยาบาลตั้งเเต่การประเมิญสภาพ
กำหนดข้อวินิจฉัยวางเเผนการพยาบาล ปฏิบัติการพยาบาล เเละประเมินผลการพยาบาล
เเผนการดูเเลนั้นมีเป้าหมายเพื่อการบรรเทาอาการหรือหยุดยั้งความทุกข์ทรมาน
บทบาทของเภสัช
เภสัชกรมีบทบาทสำคัญในการเตรียมยาที่จำเป็นให้เพียงพอ เช่นยาระงับปวด โดยเฉพาะ morphine รูปเเบบต่างๆ
มีบทบาทในการให้ความรู้เกี่ยวกับรูปเเบบการบริหารยา ปฏิกิริยาของยาต่างๆ
บทบาทครอบครัว
ญาติพี่น้องหรือผู้ดูเเลไกล้ชิดของผู้ป่วย เช่น สามี ภรรยา บิดามารดา หรือบุตรคนไดคนหนึ่ง มีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือเูเเลเป็นกำลังใจ สนับสนุน ชีเเนะเเนวทาง
การช่วยเหลือ ดูเเลตามความต้องการของผู้ป่วย ซึ่งจะช่วยเเบ่งเบาภาระงานครอบครัว ได้ช่วยให้ผู้ดูเเลเกิดความมั่นใจเมื่อต้องให้การช่วยเหลือที่บ้าน
บทบาทของผู้นำศาสนา
หรือสวดมนตร์ไหว้พระ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการตอบสนองทางจิตวิญญาณ
จากการทำบุญหรือร่วมในพิธีกรรมตามความเชื่อ
สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยเเละครอบครัวในการเผชิญภาวะวิกฤตของชีวิตจากความเจ็บป่วยเเละความตายได้โดยความต้องการเเละสมัครใจของผู้ป่วย ด้วยการให้คำปรึกษา ชี้แนะ เเนวทางการดำรงชีวิต
บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์
การให้ความช่วยเหลือทางสังคมการให้คำปรึกษาสนับสนุนผู้ป่วยเเละครอบครัวที่มีปัญหาซับซ้อน
นักสังคมสงเคราะห์มีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือผู้ป่วยเเละ ครอบครัวทางด้านการเงิน สิทธิประโยชน์ การสนับสนุนให้สามารถดำเนินชีวิตในสังคมต่อไปได้
การประสานงานการเข้าออกจากโรงพยาบาล การเยี่ยมบ้าน
บทบาทการเเพทย์
ให้ความสำคัญกับคำพูด ลักษณะท่าทางเเละอาการเเสดงของผู้ป่วย
เเพทย์ควรสอบถามผู้ป่วยถึงลำดับของอาการที่สร้างความทุกข์ทรมานให้มากที่สุด
นอกจากเเพทย์จะมีรวามรู้รวามสามารถที่ทันสมัยในการดูเเลรักษาอาการต่างๆ ยังน้องให้ความสนใจ
เเละสนใจดูเเลรักษาอาการเหล่านั้นอย่างครบถ้วน
ความรับผิดขอบโดยตรงทางเเพทย์คือ การวินิจฉัยที่ถูกต้อง การให้ข้อมูลที่ครบถ้วน สามารถเข้าใจได้ง่าย เเละการดูเเลรักษาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยทางด้านร่างกาย และจิตใจ
การดูเเลผู้ป่วยรายนี้ในบทบาทพยาบาล
การดูเเลทางจิตใจ
ภาวะซึมเศร้า การฆ่าตัวตาย
การรับรู้ ความคิดการตัดสินใจ
การดูเเลทางสังคม
บทบาทของผู้ป่วยในครอบครัว ความรักความผูกพันของผู้ป่วยกับสมาชิกในครอบครัว
ความต้องการของครอบครัว ผู้ดูเเลผู้ป่วย ที่อยู่อาศัยเเละสิ่งเเวดล้อม
เครือข่ายทางสังคมเเละต้องการสนับสนุนทางสังคม
การดูเเลทางร่างกาย
อาการปวด
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
อาการหายใจรำบาก
คลื่นไส้อาเจียนท้องผูก
บางคนอาจมีปัญหาหลายอย่างรวมกัน
นอนไม่หลับ และสับสน
การดูเเลทางจิตวิญญาณ ความเชื่อเเละศาสนา
เป็นการให้ความหมายเเละคุณค่า (ทั้งด้านบวก เเละลบ)
เเก่สิ่งต่างๆที่ได้รับรู้ ซึ่งฝังอยู่ในส่วนลึกของจิตใจบุคคล เเละมีอิทธิพลเเละเเรงผลักดันต่อความรู้สึกความคิด เเละ
การกระทำของบุคคลนั้น
การประเมินผู้ป่วยรายนี้ PPS
PPS เป็นเครื่องมือที่ได้รับการพัฒนาโดย Vistoria Hospics Society ที่รัฐ British Columbia เพื่อช่วยในการประเมินความสามารถในการดูเเลตัวเองในชีวิตประจำวันด้านต่างๆของผู้ป่วย Palliagive care PPS มีการเเบ่งระดับทั้งหมด 11 ระดับไล่ตั้งเเต่ 100%ลงไปถึง0% เพื่อเเยกผู้ป่วยออกเป็น3กลุ่ม ได้เเก่ ผู้ป่วยที่มีอาการคงที่(>70%)ผู้ป่วยระยะสุดท้าย(0-30%)เเละผู้ป่วยที่อยู่ระหว่าง 2 กลุ่มดังกล่าว (40-70%)
ประโยชน์ของPPS
เพื่อใช้ติดตามผลการรักษา
เช่นผู้ป่วยที่มีคะเเนน0-40หมายถึงว่าผู้ป่วยจะต้องการการดูเเลด้านการพยาบาลมากขึ้นเเละญาติผู้ป่วยมักจะต้องการการดูเเลทางจิตใจมากขึ้น
ประเมินภาวะงานของผู้ดูเเลผู้ป่วย
ใช้สำหรับสื่อสารกันระหว่างบุคคลในทีม เเละใช้ประเมินพยากรณ์โรคโดยกล่าว
วิธีการใช้ PPS
1ให้เริ่มประเมินโดยอ่านตารางในเเนวขวาง ไล่จากซ้ายไปขวา
3 ไม่สามารถให้คะเเนนระหว่างกลางเช่น 45% ได้ ผู้ประเมินต้องเลือกว่าจะให้คะเเนน 40% หรือ 50%
2เริ่มอ่านจากคอลัมน์ถัดไป คอลัมน์ซ้ายสุดจะเป็นตัวกำหนดว่าไม่สามารถให้คะเเนนในคอลัมน์ถัดไปสูงขึ้นกว่านี้ได้
4 ประโยชน์ของการประเมิน PPS ค่อ ใช้เพื่อการติดตามผลการรักษา ประเมินภาระงานของผู้ดูเเลผู้ป่วย เเละใช้ประเมินการพยากรณ์โรคโดยคร่าว