Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของมารดาในระยะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของมารดาในระยะตั้งครรภ์
ระบบสืบพันธุ์
มดลูก
มีขนาดเพิ่มขึ้น 1,000 เท่าและมีน้ำหนักเพิ่มมากขึ้นมีการเจ็บท้องเตือน (Brexton Hicks)
ปากมดลูก
Goodell's sign เรียกว่าปากมดลูกนิ่ม cervical plug
ช่องคลอด
มีเลือดเพิ่มขึ้นจึงทำให้ฝีเย็บนิ่มและยืดหยุ่น ฮอร์โมน Progesterone มีผลทำให้อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกคล้ำ เรียกว่า Chadinick's sign และมีตกขาวมากขึ้น
รังไข่
มีการหลั่งฮอร์โมน Estrogen และ Progesterone สูงขึ้นทำให้ยับยั้งการหลั่งฮอร์โมน FSH และ LH เพื่อไม่ให้มีการตกไข่
เต้านม
มีขนาดขยายใหญ่ขึ้นและลานนมดำ 16 สัปดาห์อาจจะมี colostrum มีผลมาจาก Estrogen และ Progesterone
ระบบทางเดินปัสสาวะ
กรวยไตและท่อไต
ท่อไตถูกกดเบียดและบีบตัวน้อยลงทำให้เกิดปัสสาวะคั่งในกรวยไตและท่อไต
กรวยไตขวาขยายออกจากการกดเบียดของมดลูก
กระเพาะปัสสาวะ
มีความจุเพิ่มมากขึ้น 1,500 cc
กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะลดความตึงตัวเกิดปัสสาวะคั่งค้าง
เกิดการอักเสบติดเชื้อทางเดินปัสสาวะได้
ขนาดของมดลูกขนาดใหญ่และส่วนนำของรกไปกดเบียดกระเพาะปัสสาวะทำให้รู้สึกอยากปัสสาวะบ่อย
ระบบต่อมไร้ท่อ
ต่อมหมวกไต
ส่วนหน้า
protien hormone เตรียมสร้างน้ำนมให้กับ cell สร้างน้ำนม จะสูงมากใกล้ครบกำหนดEstrogen และ Progesterone จะสูงเพื่อยับยั้งการสร้างน้ำนม
ส่วนหลัง
ฮอร์โมน Oxytocin เพิ่มขึ้นในช่วงตั้งครรภ์และช่วงสูงสุดขณะตั้งครรภ์ Oxytocin จะถูกกดโดย Progesterone
ตับอ่อน
สร้าง insulin เพิ่มขึ้นเพื่อตอบสนองกับ glucocorticoid
สตรีที่เป็นเบาหวานก่อนตั้งครรภ์จะมีความต้องการ insulin เพิ่มขึ้น
insulin antagonist ทำหน้าที่แทน Estrogen และ Progesterone และ HCG
ต่อมใต้สมอง
อายุมากขึ้น ACTH และ Cortisol เพิ่มขึ้น Aldrosteroneเพิ่มเพราะต้องป้องกันของเสีย Sodium จาก progesterone เพิ่มในสัปดาห์ที่ 15
ไทรอยด์
เพิ่มขึ้นในสัปดาห์ที่ 15-35 และเพิ่มขึ้นทำให้การดูดซึมของลำไส้ดี
พาราไทรอยด์
ระดับ total T3 T4 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยและ T3 ลดลงตรวจพบ Protien-blood iodine ในเลือด
ระบบผิวหนังและกระดูก
ผิวหนัง
มีการเพิ่มของฮอร์โมนEstrogen และ Progesterone และ melanocyte ทำให้มีการผลิตเม็ดสีเพิ่มขึ้นส่งผลให้เกิดฝ้า
เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
ไตรมาสที่ 3 collagen fiber มีการแยกกันทำให้เกิดผิวแห้ง เกิดรอยแตกลายเรียกว่า striae gravidrarum
กระดูกสันหลัง
การเคลื่อนไหวไม่สะดวกทำให้มีการเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือปวดหลังทำให้เกิดการดึงรั้ง อาจมีอาการชา หรืออ่อนแรง
กล้ามเนื้อหน้าท้อง
มีการยืดหยุ่นขยายเพื่อรองรับขนาดของมดลูกที่โตเกิดการแยกใยของกล้ามเนื้อ
ระบบหัวใจและไหลเวียน
BP
GA 12-26 wks มี Diastolic ลดลง
ไตรมาสที่ 3 BP สูงขึ้น systolic 30 mmhg.Diastolic 15 mmhg.
Supine hypotention ความดันโลหิตต่ำจากการนอนหงาย
Physiologic Anemia มีการเพิ่มของพลาสมามากกว่าเม็ดเลือดแดง
ตำแหน่งของยอดมดลูกถูกกดดันไปด้านซ้ายและสูงขึ้น
มีเสียง murmur GA 20 wks หายหลังคลอด
HR สูง CR สูง
หัวใจมี Enlargement
ระบบหายใจ
มีการเพิ่มขยายขนาดของมดลูกโตขึ้นทำให้ไปกดเบียดกระบังลมสูงขึ้น 4 cm ทำให้กระบังลมเคลื่อนไหวได้น้อยและทำให้ปริมาตรของปอดลดลง
ซี่โครงหย่อนตัวเป็นมาจากฮอร์โมนProgesterone ทำให้หญิงตั้งครรภ์บางรายหายใจลำบากที่เรียกว่า Dypnea
ระบบทางเดินอาหาร
Progesterone
ลำไส้คลายตัว (ท้องผูก)
กระเพาะอาหารคลายตัว (hear burn)
Estrogen
เพิ่มขึ้นทำให้เลือดคั่งบริเวณปากและเหงือกจึงทำให้เหงือกอักเสบ (Gingivitis)
ถุงน้ำดีโป่งพอง ความตึงตัวลดลงProgesteroneทำให้ไหลช้า