Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมรรถนะหลักที่ 2 ภาวะผู้นำทางวิชาการและวิชาชีพอาชีวศึกษา - Coggle Diagram
สมรรถนะหลักที่ 2 ภาวะผู้นำทางวิชาการและวิชาชีพอาชีวศึกษา
2.1 การบริหารการเปลี่ยนแปลงด้านวิชาการและวิชาชีพอาชีวศึกษา
การนำองค์การ
การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วน
การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดการกระบวนการ
ผลลัพธ์การดำเนินการ
2.3 การบริหารงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
การรู้ดิจิทัล (Digital Literacy)
การใช้งานคอมพิวเตอร์
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
การใช้งานเพื่อความมั่นคงปลอดภัย
การใช้โปรแกรมประมวลคำ
การใช้ตารางคำนวณ
การใช้โปรแกรมการนำเสนองาน
การใช้โปรแกรมสร้างสื่อดิจิทัล
การทำงานร่วมกันแบบออนไลน์
การใช้ดิจิทัลเพื่อความมั่นคงปลอดภัย
ประโยชน์ของการพัฒนา Digital Literary
ประโยชน์สำหรับข้าราชการ
ทำงานได้รวดเร็วลดข้อผิดพลาดและมีความมั่นใจในการทำงานมากขึ้น
มีความภาคภูมิใจในผลงานที่สามารถสร้างสรรค์ได้เอง
สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
สามารถระบุทางเลือกและตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
สามารถบริหารจัดการงานและเวลาได้ดีมากขึ้นและช่วยสร้างสมดุลในชีวิตและการทำงาน
มีเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้และเติบโตอย่างเหมาะสม
ประโยชน์สำหรับส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ
หน่วยงานได้รับการยอมรับว่ามีความทันสมัย เปิดกว้าง และเป็นที่ยอมรับ ซึ่งจะช่วยดึงดูดและรักษาคนรุ่นใหม่ที่มีศักยภาพสูงมาทำงานกับองค์กร
หน่วยงานได้รับความเชื่อมั่นและไว้วางใจจากประชาชนและผู้รับบริการมากขึ้น
คนในองค์กรสามารถใช้ศักยภาพในการทำงานมีมูลค่าสูง (High Value job) มากขึ้น
กระบวนการทำงานและการสื่อสารขององค์กร กระชับขึ้น คล่องตัวมากขึ้น และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
หน่วยงานสามารถประหยัดทรัพยากร (งบประมาณและกำลังคน) ในการดำเนินงานได้มากขึ้น
ชีวิตวิถีใหม่และความฉลาดทางดิจิทัล (ความสำคัญของทักษะดิจิทัล)
การรู้และใช้สื่อ (Media literacy)
ทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อการติดต่อสื่อสารเพื่อการทำงานร่วมกัน (Communication and collaboration)
ทักษะความสามารถในการใช้ดิจิทัล เสริมกับอาชีพแห่งตน จัดการดูแลอัตลักษณ์ความเป็นตัวตนในโลกไซเบอร์ (Career & Identity Management)
ทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy)
ทักษะการใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อประโยชน์เชิงวิชาการ (Digital scholarship)
ทักษะการใช้ข้อมูลข่าวสาร (Information literacy)
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA พบวิถีใหม่ (New Normal)
Blockchain Technology
โซเชียลมีเดีย (Social Media) หรือโลกสังคมออนไลน์
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI Platform)
แชทบอท (Chatbot)
หุ่นยนต์ (Robots)
5G เป็นเจเนอเรชั่นใหม่ของการสื่อสาร
การประชุมทางไกล (Video Conference)
เทคโนโลยีเสมือนจริง (AR/VR Technology)
ระบบการพิมพ์สามมิติ (3D Printing)
อากาศยานไร้คนขับ (Drones)