Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด - Coggle Diagram
บทที่ 9 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด
ความหมายของการตกเลือด
หลังคลอด
การเสียเลือดหลังการคลอดทารกมีปริมาณเลือดมากกว่า 500 มิลลิลิตร เมื่อคลอดทางช่องคลอด
การเสียเลือดหลังการคลอดทารกมีปริมาณเลือดมากกว่า 1,000 มิลลิลิตร เมื่อคลอดโดยวิธีผ่าตัดทางหน้าท้อง
ชนิดของการตกเลือดหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดในระยะแรก(Primary or early postpartumhemorrhage)
ความหมาย การตเเลือดที่เกิดขึ้นตั้งแต่หลังคลอดทันทีจนถึง 24 ชม. หลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดในระยะหลัง(Secondary or late postpartumhemorrhage)
ความหมาย การตเเลือดที่เกิดขึ้นในระยะ 24 ชม. จนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
ระดับความรุนแรงของการตกเลือดหลังคลอด
ระดับเล็กน้อย (Mild PPH) คือ สูญเสียเลือดตั้งแต่ 500 มิลลิลิตรขึ้นไป
ระดับรุนแรง (Severe PPH) คือสูญเสียเลือดตั้งแต่ 1000 มิลลิลิตรขึ้นไป
ระดับรุนแรงมาก (Very severe or major PPH) คือสูญเสียเลือดตั้งแต่ 2500 มิลลิลิตรขึ้นไป
สาเหตุ
Tone ความผิดปกติของการหดรัดตัวของมดลูก
Trauma คือ สาเหตุที่เกี่ยวกับการฉีกขาดของทางช่องคลอด
Tissue คือ สาเหตุที่เกี่ยวข้องกับรก เยื่อหุ้มรกหรือชิ้นส่วนของรกตกค้างภายในโพรงมดลูก
Thrombin คือ สาเหตุที่เกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของเลือผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออก : เลือดที่ออกมาอาจไหลให้เห็นทางช่องคลอด
มีอาการของการเสียเลือด
คลำมดลูกอาจพบว่าอยู่เหนือระดับสะดือ
Late Postpartum hemorrhage
สาเหตุ
มดลูกเข้าอู่ช้า
2.มีชิ้นส่วนของรกค้างในโพรงมดลูก
3.มีเนื้องอกของมดลูก
4.มีการอักเสบในโพรงมดลูก
ปัจจัยส่งเสริมการตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (C/S)
มีภาวะรกติด (Placenta accreta)
3.มีเนื้องอกในโพรงมดลูก
อาการและอาการแสดง
-มีเลือดออกทางช่องคลอดมากขึ้น
-มีลักษณะน้ำคาวปลาที่ผิดปกติ
-มดลูกนุ่ม หดรัดตัวไม่ดี
-มดลูกไม่เข้าอู่ตามปกติ
-มีการติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
ภาวะแทรกซ้อนจากการตกเลือด
shock จากการเสียเลือด
2.ติดเชื้อหลังคลอด
3.อันตรายจากการรักษา
4.เนื้อเยื่อของต่อมใต้สมองส่วนหน้าตาย
การพยาบาลภาวะช็อกจากการเสียเลือด
1)ให้สารน้ำทางหลอดเลืดดำ
2)จัดให้นอนราบไม่หนุนหมอน
3)ห่มผ้าให้ความอบอุ่น
4)สังเกตุระดับความรู้สึกตัว
5)ประเมิน/บันทึก V/S ทุก15 นาที
6)Retained foley’s catheter
การพยาบาลติดเชื้อหลังคลอด
1)ประเมินอาการ/อาการแสดงของการติดเชื้อ
2)ตรวแผลฝีเย็บโดยใช้หลักREEDA
3)ตรวจลักษณะของน้ำคาวปลา
4)ประเมินอาการปวดท้องรุนแรง กดเจ็บ หน้าท้องตึงแข็ง มดลูกมีขนาดใหญ่
5)ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การพยาบาลเมื่อเกิดอันตรายจากผลการรักษา
1)ให้Fluid overload 2)Shock lung 3)Oxygen toxicity