Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกที่เกิดจากมารดามีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์, นางสาวกัญญารัตน์ สิงห์ธรรม…
ทารกที่เกิดจากมารดามีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
Hepatitis B
การติดต่อ
Post natal intimate contact ติดต่อจากความใกล้ชิด
Sexual tranmission
Contaminate of blood and blood product
Percutaneous of permucosa
ผลกระทบต่อทารก
เป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อ , ความผิดปกติทางโครโมโซม
มีการติดเชื้อ , เป็นพาหะเรื้อรัง
การพยาบาล
ให้ HBIG ตาม 0.5 ml. ภายใน 12 ชม. หลังคลอด -7 วัน และให้ HBV ตามซ้ำเมื่ออายุ 1,6 เดือน
ให้นมได้ ก่อนให้นมมารดาต้องทำความสะอาด
อาบน้ำทันทีหลังคลอด
ไม่ต้องแยกเด็กออกจากมารดา
โอกาสป่วยเป็นโรคไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรัง 90% มีโอกาสเป็นโรคตับแข็ง , มะเร็งตับ มีความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งตับมากกว่าคนทั่วไป 200 เท่า
ซิฟิลิส
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Spirochete bacterium Treponema pallium เริ่มแสดงอาการ 3-4 สัปดาห์หลังจากได้รับเชื้อ
ส่งผ่านเชื้อจากมารดาไปยังทารกในครรภ์หลังอายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์ โดยการแพร่ผ่านรกโดยตรงและขณะคลอดทางช่องคลอดที่มีรอยโรค
ลักษณะทางคลินิก
Tertiary syphilis
โรคดำเนินไปอย่างช้าๆที่อวัยวะใดก็ได้ ไม่ค่อยพบในสตรีวัยเจริญพันธุ์
ระยะแฝง Latent syphilis
เกิดเมื่อ Primary หรือ Secondary ไม่ได้รับการรักษา อาการต่างๆหายไปได้เอง แต่ยังพบเชื้อจากการตรวจเลือด หากเกิดภายใน 12 เดือนหลังจากมีอาการทางคลินิก เรียนก Earth latent นานกว่า 12เดือนหรือไม่ทราบระยะ Late latent
Secondary syphilis
เชื้อแพร่กระจายไปอวัยวะอื่นๆ : ผื่น Nacular rash กระจายทั่วไปร้อยละ 90% , ผื่น Targeted lesion ที่ฝามือ , ผมร่วงเป็นหย่อม , ตุ่มนูนที่บริเวณอวัยวะเพศ /อาจมีไข้ ปวดศีรษะ
Primary syphilis
พบแผลริมแข็งที่อวัยวะเพศ Chancre
การวินิจฉัย
หากมีอาการให้มาพบแพทย์
รายได้ติดเชื้อ ควรได้รับการตรวจคลื่นความถี่สูงหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ตรวจหาความผิดปกติในทารกในครรภ์
ตรวจคัดกรองเมื่อฝากครรภ์ครั้งแรก
หากมีประวัตสัมผัสคนที่ติดเชื้อภายใน 90 วัน ควรแจ้งผู้รักษา
การรักมารดาที่ติดเชื้อ
ใช้ยา Venzathine penicillin G หลังได้รับยาตรวจติดตามเชื้อเป็นระยะทุก 3-6 เดือน
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่เชื้อ
ตั้งครรภ์ใน 1-2 ปีแรกจะมีโอกาสแพร่เชื้อสู่ทารกในครรภ์สูง
สตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับเชื้อนานมีโอกาสที่ทารกจะเกิดอันตรายน้อยลง
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
เป็นโรคซิฟิลิสแต่กำเนิด ตับโต รกหนา บวมน้ำ ซีด
โตช้า อาจทำให้แท้ง คลอดก่อนกำหนด พิการแต่กำเนิด เสียชีวิตระหว่างคลอด
การพยาบาลหลังคลอด
มารดาแยกจากมารดาหลังคลอดและทารกรายอื่น แยกอุปกรณ์เครื่องใช้
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้แต่ งดให้กรณีที่มีรอยโรค จัดท่าให้นมและอมหัวนมอย่างถูกวิธีเพื่อป้องกันไม่ให้หัวนมแตก
คัดกรองและรักษาทารกที่ติดเชื้อแต่กำเนิด
แยกทารกที่สงสัย ให่การพยาบาลป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ สวมถุงมือ
ส่งตรวจ non-treponemal test
แนวทางการรักษา
มากกว่า 7 วัน : Aqueous penicillin G 50,000 U/kg vein ทุก 8 ชั่วโมง นาน 10 วัน Procaine penicillin G 50,000 U/kg IM 1 ครั้ง 10 วัน
ขาดยานานเกิน 24 ชม. เริ่มยาใหม่
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 7วัน: ให้ Aqueous penicillin G 50,000 U/kg vein ทุก 12 ชั่วโมง
penicillin 10 วัน ร่วมยาอื่น
เบาหวาน
ประเภท
ก่อนตั้งครรภ์ Pregnancy Diabetes
ขณะตั้งครรภ์ Gestational diabetes GDM *พบมาก
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคเบาหวาน
คุมน้ำตาลยาก แทรกซ้อนทางตา โปรตีนออกในปัสสาวะเพิ่ม ความดันเลือดสูง
ผลกระทบต่อมารดา
ครรภ์เป็นพิษ ติดเชื้อของกรวยไต ครรภ์แฝดน้ำ
เสี่ยงความดันสูง ติดเชื้อ การผ่าตัดคลอด อุบัติการณ์สูงขึ้น
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
อัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้น เสี่ยงต่อการแท้ง
พิการแต่กำเนิด ตัวโตกว่าปกติ โรคแทรกซ้อนทางหลอดเลือด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์ หายใจลำบาก น้ำตาลต่ำ
ปัจจัยเสี่ยง
อายุมากกว่า 30 , BMI มากกว่า 25 กก./ม2
ญาติสายตรงเป็นโรคเบาหวาน , เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ , ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ, เคยคลอดเด็ก น.น. มากกว่าหรือเท่ากับ 4000 กรัม , เคยคลอดเด็กที่เสียชีวิตในครรภ์
การตรวจคัดกรองเบาหวาน
ตรวจ GCT
ดื่มสารละลายกลูโคส 50 กรัม
ตรวจ IGTT ในการตรวจ 100-g OGTT
งดอาหารก่อนตรวจ 8 ชม. ไม่เกิน 14 ชม.
แบ่งชนิดและความรุนแรงและแนวทางปฏิบัติ
GDM class A1 : กลูโคสหลังงดอาหารน้อยกว่า 105 มก. /ดล.
GDM class A2 : กลูโคสหลังงดอาหารมากกว่าหรือเท่ากับ 105 มก./ดล. ขึ้นไป
การพยาบาลทารกแรกเกิด
เฝ้าระวังภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
Blood glucose level monitoring
early, frequent oral feeding (preferably breast milk)
glucose infusion (4-6 mg/kg/min = 60-80 mL/kg/day 10 per cent glucose)
measurement of serum calcium and magnesium
adequate oxygenation
วัณโรค
การวินิจฉัยโรคในทารก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ว่าทารกเป็นวัณโรค ควรให้ยา INH ป้องกันโดยเร็วที่สุด
ตรวจร่างกายอย่างละเอียด เอกชเรย์ปอด การหรือ endometrium ของมารดา การตรวจ tuberculin skin test (TST)
การป้องกันวัณโรค
การฉีดวัคซีน บีชีจี จะช่วยป้องกันการติดเชื้อแก่ทารก ร้อยละ 64-83 โดยเฉพาะวัณโรคชนิดรุนแรง
ให้วัคซีนบีซีจี ก่อนเริ่มยา INH ประมาณ 3-7 วัน
การติดตามผู้ป่วยเด็ก
เด็กควรได้รับการติดตามและประเมินที่สถานพยาบาล ทุกครั้งที่มารับวัคซีนตามนัด เพื่อประเมิน อาการ น้ำหนัก ความสม่ำเสมอต่อเนื่องของการกินยา INH หากมีความผิดปกติควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ควรติดตามอย่างน้อย 1 ปี
การพยาบาลมารดา
<2 สัปดาห์ และ/หรือยังตรวจ AFB เป็นบวก : แยกทารกออกจากมารดา
22 สัปดาห์และตรวจ AFB เป็นลบแล้ว : ไม่ต้องแยกทารกออกจากมารดา
คำแนะนำที่สำคัญ
ทารกที่คลอดจากมาดที่เป็นวัณโรคให้ประเมินวัณโรคแต่กำเนิด ตรวจร่างกายโดยละเอียดและตรวจภาพภาพเอกชเรย์ปอด
ประเมินแล้วปกติให้ดูแลทารกดังนี้ (++. II)
หากมารดาได้รับการรักษา > 3 เดือนและตอบสนองต่อการรักษาดีทารกไม่ต้องทำอะไรเพิ่มให้วัคซีน BCG ได้ตามปกติ
หากมารดาได้รับการรักษา < 3 เดือน
ให้วัคซีน BCG ตามปกติ
ให้ INH 10 mg/kg/day 9 เดือน (++, ll) เริ่มยา INH หลังฉีควัคซีน 3-7 วัน (++. IV)
ไม่ต้องทำการตรวจ TST
ถ้ามารดารักษาวัณโรค < 2 สัปดาห์ หรือยังพบเชื้อในเสมหะ ให้แยกมารดากับทารก แต่ให้กินนมแม่ที่บีบออกมาได้
นางสาวกัญญารัตน์ สิงห์ธรรม เลขที่ 25 ห้อง A รหัส 633020110688