Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 การจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาก…
หน่วยที่ 4
การจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรฯ
ปัจจัยที่เกี่ยวกับการจัดการ
ภายใน
เกษตรกร และครอบครัว
ลักษณะของระบบเกษตร/ระบบฟาร์ม
ภายนอก
แรงขับด้านสังคม
แรงขับด้านการเมือง
แรงขับด้านเศรษฐกิจ
แรงขับด้านสิ่งแวดล้อม
แรงขับด้านเทคโนโลยี
แนวคิดทฤษฎีการจัดการทรัพยากรการผลิต
การเกษตรในมิติเชิงอนุรักษ์
แนวคิด : ภูมิปัญญาชาวบ้าน วัฒนธรรมชุมชน
กับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
แนวคิด : สิทธิ และกรรมสิทธิ์กับการ
จัดการทรัพยากร
แนวคิด : ระบบการผลิตและระบบการเกษตรที่มี
ต่อระบบนิเวศน์ และความหลากหลาย
ความหมาย/ความสำคัญ
การจัดการเพื่อให้มีอาหารเพียงพอ
การอนุรักษ์ทรัพยากรให้คงอยู่
ส่งผลกระทบสิ่งแวดล้อมน้อยสุด
การมีส่วนร่วมของชุมชน
ในการบริหารจัดการ
แนวคิดการส่งเสริมฯให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
ในการบริหารจัดการทรัพยากร
แนวคิดการมีส่วนร่วม
แนวคิดการสร้างองค์กรชาวบ้าน
แนวคิดไตรภาคี
แนวคิดพหุภาคี
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ภายใน
ผู้นำชุมชน
สมาชิกชุมชน
ความเข้มแข็งชุมชน
ภายนอก
งบประมาณสนับสนุน
สนับสนุนข้อมูลข่าวสารวิชาการ
แนวทางการส่งเสริมฯ
การจัดการทรัพยากรโดยชุมชน
ภายใต้การสนับสนุนของรัญ
รัฐสนับสนุนให้ชุมชนจัดการ
ทรัพยากรของตนเอง
ยอมรับภูมิปัญญาชาวบ้าน
กระจายอำนาจการตัดสินใจ
สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ
ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
เตรียมความพร้อมระดับชุมชน
สร้างความร่วมมือ
ดำเนินการร่วมกับสมาชิก
ก่อประโยชน์ต่อส่วนรวม
เตรียมความพร้อมระดับเครือข่าย
ประสานความร่วมมือกับกลุ่ม
ดำเนินร่วมระหว่างสมาชิกเครือข่าย
เชื่อมโยงสัมพันธ์
เตรียมความพร้อมระดับครัวเรือน
แนวทางการจัดการทรัพยากรการผลิต
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร และโครงสร้างพื้นฐาน
การเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ปรับปรุงการบริหารจัดการที่ดิน
กระจายการถือครองที่ดินให้เกิดความเป็นธรรม
เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำทางการเกษตร
เร่งรัดศึกษาความเหมาะสมในการ
จัดสรรน้ำจากแหล่งน้ำภายในประเทศ
พัฒนาองค์ความรู้
ส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคเอกชนเข้ามาลงทุน
บูรณาการหน่วยงานรับผิดชอบ
ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรใช้
ทรัพยากรการผลิตอย่างเหมาะสม
สนับสนุนและผลักดันให้เกษตรกรมีส่วนร่วม
ในการบริหารจัดการทรัพยากร
เตรียมความพร้อมรองรับผลกระทบ
จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
พัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ
บริหารจัดการทรัพยากรให้เหมาะสม
ส่งเสริมสนับสนุนให้เกษตรกร
ใช้ทรัพยากรการผลิตอย่างเหมาะสม
ระบบการเกษตรเชิงบูรณาการ
ประสิทธิภาพการผลิต
ความมั่นคงในการผลิต
ความต่อเนื่อง
เอกลักษณ์ความกลมกลืนทางสังคม
นางสาวสุดลาภา เทพทอง รหัสนักศึกษา 2649002405