Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การควบคุมและป้องกันสัตว์ แมลง พาหะนำโรค - Coggle Diagram
การควบคุมและป้องกันสัตว์ แมลง พาหะนำโรค
นิยามความหมาย
แมลง หมายถึง สัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ร่างกายแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง มี 6 ขา อาจมีปีกหรือไม่มีปีกก็ได้
พาหะนำโรค หมายถึง สิ่งที่เป็นตัวนำพาเอาเชื้อโรคจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งสู่อีกสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ซึ่งทำให้เกิดโรคขึ้น
วัตถุประสงค์
ป้องกันเหตุรำคาญเดือดร้อนที่เกิดจากสัตว์ แมลงพาหะนำโรค
ป้องกันการสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดจากสัตว์แมลง พาหะนำโรค
ป้องกันการแพร่เชื้อโรคที่มีสัตว์และแมลงเป็นพาหะนำโรค
แมลงวัน (Flies) แ ม ล ง วั น มี ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต แ บ บ ส ม บู ร ณ์ (Complete metamorphosis) โดยแบ่งระยะการเจริญเติบโต 4 ระยะได้แก่ ระยะไข่ (Egg) ระยะตัวหนอน (Larvae) ระยะดักแด้ (Papae) และระยะตัวเต็มวัย (Adult) เป็นพาหะนำโรคที่สำคัญมากมาย อาทิ อหิวาต์ ไทฟอยด์ พาราไทฟอยด์ แอนแทรกซ์ เป็นต้น
การผสมพันธุ์...ใช้การมองและฟีโรโมน ช่วยกระตุ้นในการผสมพันธุ์ตัวเมียจะผสมพันธุ์ครั้งเดียว แล้วจะเก็บน้ำเชื้อไว้ในถุงเก็บน้ำเชื้ออสุจิเพื่อผสมกับไข่ครั้งต่อไป
การวางไข่ ... แมลงวันตัวเมียจะวางไข่ครั้งละ 75 – 150 ใบสามารถวางไข่ได้ 4 - 6 ครั้งอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส - 35 องศาเซลเซียสไข่จะฟักตัวภายใน 8 – 12 ชม.
อุปนิสัย ...ไม่ค่อยชอบแสงแดดจะหลบอยู่ตามที่ร่มในบ้าน
การแพร่กระจาย ... แมลงวนัจะไม่ค่อยเคลื่อนย้ายถ้ามีอาหารเหมาะสม
แหล่งเพาะพันธุ์...ตามพื้นที่ที่อุดมไปด้วยอินทรีย์สารทั้งหลาย เช่น มูลสัตว์ มูลสุกรและมูลไก่ เศษอาหาร
แมลงวันบ้าน ( House Flies ) เป็นแมลงวันที่พบมากที่สุดคือ Musca domestica แมลงวันบ้านพบได้ทั่วโลกยกเว้นบริเวณที่มีอากาศหนาวจัด ซึ่งเป็นพาหะนำโรคหลายชนิด ได้แก่ อหิวาตกโรค ไข้รากสาด บิด เป็นต้น
ระยะตัวอ่อน ตัวอ่อนของแมลงวันบ้านมีรูปร่างทรงกระบอกปลายข้างหนึ่ง เป็นรูปกรวยยาวประมาณ 10-12 มิลลิเมตร
ตัวอ่อนลอกคราบ 3 ครั้งถ้าอากาศอบอุ่นภายในเวลา 4-7 วัน มันจะคลานออกมาจากสิ่งปฏิกูล ตกลงสู่พื้นกลายเป็นดักแด้
ระยะดักแด้ ดักแด้ของแมลงวันบ้านมักอยู่ในที่สงบ
ระยะเป็นไข่ แมลงวันบ้านมักจะวางไข่ตามมูลสัตว์ สิ่งปฏิกูล มูลฝอยเปียก น้ำเสีย และสารอินทรีย์เน่าเปื่อยอื่น ๆ ไข่มีรูปร่างเป็นวงรี สีขาวนวล ขนาดประมาณ 1 มิลลิเมตร
ระยะตัวแก่ ตัวแก่ของแมลงวันบ้านตัวผู้มีล าตัวยาวประมาณ 5.8-6.5 มิลลิเมตร
ตัวเมียยาวประมาณ 6-9 มิลลิเมตร มีสีเทาหม่น มีหนวดเส้นเล็ก ๆ 2 เส้น สำหรับรับความรู้สึก
แมลงวันหัวเขียว (Blow Flies) แมลงวันหัวเขียวจะวางไข่บนสิ่งสกปรกเน่าเหม็น
ระยะดักแด้ ดักแด้ของแมลงวันหัวเขียวมีลักษณะคล้ายตัวอ่อนแต่มีขนาดใหญ่กว่า ปลาย 2 ข้างมีลักษณะมน มีสีน้ำตาล ระยะเวลาที่เป็นดักแด้อาจนานประมาณ 3-7 วัน แล้วจะกลายเป็นตัวแก่
ระยะตัวแก่ ตัวแก่ของแมลงวันหัวเขียวมีความแตกต่างกันตามสกุล และชนิด แต่โดยทั่วไปส่วนอกและส่วนท้องมีสีน ้าเงินหรือสีเขียวเหลือง บางชนิดอาจมีสีเขียวปนโลหะ หรือสีบรอนซ์ แวววาว
ระยะตัวอ่อน มีขนาดความยาวประมาณ 10-14 มิลลิเมตร มีสีเทาปนเหลือง
ระยะเป็นไข่ แมลงวันหัวเขียวจะวางไข่เป็นกระจุกหรือเป็นกลุ่มบนซากสัตว์ หรือบางครั้งอาจพบในเนื้อสด ไข่จะมีสีเหลืองอ่อน ภายในเวลา 8 ชั่วโมง ถึง 3 วัน จะแตกออกมาเป็นตัวอ่อน
การควบคุมและป้องกันแมลงวัน
การควบคุมแมลงวันภายในอาคารและที่พักอาศัย
การป้องกันและควบคุมแมลงวันในชุมชน
โรคที่มียุงเป็นพาหะ
ยุงรำคาญ บางชนิดเป็นตัวการนำโรคไข้เหลือง และโรคเท้าช้าง และบางชนิดไม่นำโรคอะไรเลย
ยุงเสือ เป็นตัวการนำโรคเท้าช้าง
ยุงก้นปล่อง เป็นตัวการนำไข้มาลาเรีย
ยุงลาย เป็นพาหะนำเชื้อไวรัสซึ่งทำให้เกิดโรคสำคัญ คือไข้เลือดออก ไข้เหลือง Dangue Fuver, Enecphalitis
การระบาดของโรคขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ
องค์ประกอบอื่นๆ ได้แก่ ความชุกชุมของยุงลาย การเดินทางการเคลื่อนย้ายของ ปชก. ความหนาแน่นของชุมชน
ชนิดชองเชื้อเดงกี่ไวรัสที่ระบาดในพื้นที่นั้น ในปีนั้นในขณะนั้น
คน ได้แก่ กลุ่มอายุ ภูมิคุ้มกันโรค และการได้รับเชื้อในอดีต
การเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก มี 4 วิธี
การเฝ้าระวัง Antibody ของประชาชน
การเฝ้าระวังความชุกชุมของยุงลาย (พาหะของโรค)
การเฝ้าระวังผู้ป่วย
การเฝ้าระวังชนิดของ Dengue type