Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกที่เกิดจากมารดามีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์, ', นางสาวกัญญารัตน์…
ทารกที่เกิดจากมารดามีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
เริม Herpes Simplex lnfection
อาการ
ติดเชื้อทางช่องคลอด เริ่มแสดงอาการ1-14 สัปดาห์
ผิวหนัง ปาก ตา SME
ตุ่มน้ำใสขึ้นทั้งตัว แตกง่าย ประมาณ 5-7 วันตุ่มจะแห้งตกสะเก็ดและค่อยๆหายไป
ทางสมอง CNS
ชักเป็นพักๆ ซึมมาก ตัวสั่น ไม่ดูดนม อุณหภูมิกายไม่คงที่ กระหม่องโป่ง
อวัยะภายใน DIS
ตัวเหลือง เลือดออกง่าย หายใจเร็ว มือเท้าเขียว ความดันต่ำ
อาการระยะยาว
เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ลมชัก ตาบอลพัฒนาการและสติปัญญาล่าช้า ไม่สามารถเรียนรู้ได้เหมือนเด็กทั่วไป
1.ติดเชื้อทารก: น้ำหนักน้อย
ผิวหนัง : มีรอยทั้งตัว ตุ่มน้ำใสที่กำลังแตก ตุ่มที่ตกสะเก็ด แผลเป็น จุดขาวหรือเข้ม ผื่นแดง หย่อมศีรษะไม่มีเส้นผม
ตา : ดวงตาเล็ก ประสาทตาฝ่อ ไม่มีจอตาหรือมีแต่จอตาอักเสบ
สมอง : ศีรษะเล็ก สมองเล็ก มีหินปูนอยู่ในเนื้อสมอง
พยาธิสภาพ
เชื้อเริมจะปนเปื้อนเยื่อ Mucous Membrane ของเด็กแรกเกิดระหว่างผ่านช่องคลอดของมารดาที่มีเชื้อ Herpes Virus
อาจมีเชื้อเข้าสู่ประสาทส่วนกลาง หรือกระแสเลือดเป็นการติดเชื้อแพร่กระจ่าย
การพยาบาล
ดูแลทารกขณะคลอด
Obs อาการ
สงสัยว่ามีอาการ ส่งC/S (HSV Bacteria)
ในระยะคลอด
แนะนำการคลอดผ่าตัดทางหน้าท้อง/คลอดทางช่องคลอด (ถุงน้ำคร่ำแตกเกิน 6 ชม.)
ทำคลอดยึดหลัก Aceptic technique
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม ป้องกันภาวะ Birth asphyxia
หลังคลอด
ล้างมือให้สะอาด ก่อนจับตัวเด็ก ไม่สัมผัสโดยการจูบ กอด อุปกรณ์เลี้ยงดูสะอาด
แยกมารดา ทารก ติดตามจนครบ 1 เดือน
ป้ายเมือกบริเวณจมูก ตา ลำคอ สายสะดือ และผิวหนังที่มีรอยแตก
การวินิจฉัย
การเพาะเชื้อจากเลือด น้ำไขสันหลัง ปัสสาวะ น้ำมูก น้ำตา และน้ำจากแผลที่ผิวหนัง
การตรวจ HSV-PCR
การรักษา/ป้องกัน
ถ้าติดเชื้อที่ตาป้ายตา Antiviral drug IDU, Are-A , Acyclovir ointment * 5 วัน
3% Vidarabine 1-2% Trifluridine 1% lododeoxyuridine
Vidarabine
มารดาที่มีประวัติเริมกำเริบบ่อยครั้ง ควรให้มารดาได้รับยา Acyclovir รับประทานไตรมาสสาม
ส่งเพาะเชื้อ ภายใน 24-48 ชม. : Skinlesion Conjuctiva nasophalynx พบ mother น้ำไขสันหลัง พบ + ให้ Acyclovior 10 มก./กก./ทุก 8 ชม. 14 วัน
แจ้งให้แพทย์ทราบหากเป็นเริมที่ช่องคลอด
HSV
Type1 : ปาก อวัยวะอื่นๆ
Type2 : อวัยวะสืบพันธ์ (มารดาอายุน้อย ครรภ์แรก 80%)
หัดเยอรมัน Congenital Rubella
พยาธิสภาพ
Cytolysis ทำลายเซลล์ กล้ามเนื้อ หัวใจ สมอง ไขสันหลัง กล้ามเนื้อลาย หูส่วนใน
ยับยั้งการแบ่งตัวของเซลล์และทำให้โครโมโซมแตก
ทำลาย endotrelilum ของหลอดเลือดในรก membrane อวัยวะอื่นๆของทารก
ภาวะทารกพิการแต่กำเนิดจากการติดเชื้อ CRS
ปลายไตรมาส 2 ลดลงเหลือ 25%
อายุครรภ์ 27-30 สัปดาห์ เกือบ 100%
ไตรมาสแรก : โอกาสติดเชื้อ 80%
ความเสี่ยงในการก่อให้เกิดความพิการกับทารกมักจะพบสูงเมื่อติดเชื้อที่ช่วงอายุครรภ์น้อยกว่า 16 สัปดาห์
ความุนแรงของ CRS
ไม่มีอาการในระยะ 4 สัปดาห์แรก
คลอดก่อนกำหนด ทารกโตช้าในครรภ์
อาจทำให้ทารกเสียชีวิตในครรภ์
เกล็ดเลือดต่ำ มีจุดเลือด ซีด ตับม้ามโต
ผื่นที่หน้า ลำตัว หลังคลอด2-3 วัน ความผิดปกติของโครโมโซม
การติดเชื้อไม่ได้ก่อให้เกิดความพิการทุกราย ความพิการโดยกำเนิกมีความจำเพาะ คือการเกิดความผิดปกติทางตา หูหนวก
พบความผิดปกติของหัวใจ PDA
อาการและอาการแสดง
ปอดบวม Interstitial Pneumonia
ตา Cataracts
กระดูก เห็นภาพรังสีเป็นเส้นจางสลับทึบตามทางยาวของแขน ขา
CNS : Psychomotor Retardation
หู* วัยเรียน ปัญญาอ่อน พัฒนาการช้า ทางจิตประสาท
ความผิดปกติที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อหัดเยอรมันในครรภ์
ความผิดปกติถาวร
ความผิดปกติที่ปรากฎภายหลัง
ความผิดปกที่เกิดขึ้นชั่วคราว
การวินิจฉัยภาวะติดเชื้อในมารดา
ส่งตรวจ IgG ทันทีที่มีผื่นขึ้น
ส่งตรวจระดับ IgM specific antibody
การเพาะเชื้อ
การตรวจแยกเชื้อไวรัสโดยตรงจากน้ำลายในคอ น้ำในประสาทไขสันหลัง โดย RT-PCR
การวินิจฉัยภาวะติดเชื้อในทารก
C/S ลำคอ เยื่อบุตา น้ำไขสันหลัง ปัสสาวะ ใน 3 ด.แรก
ตรวจหาไวรัสโดย PCR โดยทำ PCRจากชิ้นเนื้อรกได้ผลดีกว่าเจาะตรวจน้ำคร่ำ แม้นยำกว่า rubella IgM
ตรวจ IgMในทารก เก็บเลือดจากสายสะดือโดยตรง
การพยาบาล
ดูแลทารกโดยยึดหลัง Universal precaution
ดูดมูกจากปาและจมูกอย่างเร็ว
การทำลายผ้าอ้อม
ก่อนฉีดวัคชีนต้องทำความสะอาดผิวทารกด้วยน้ำและสบู่และเช็ดด้วยแอลกอฮอล์
แนะนำการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างถูกต้อง ประเมินประสิทธิภาพการให้นมบุตรเพื่อช่วยป้องกันการเจ็บหัวนมมากจนเลือดไหล
แนะนำมารดามาตรวจตามนัด
หากทารกไม่ได้รับเชื้อ ให้ฉีดวัคชีน MMR เมื่ออายุครบ 9 เดือน และ 2 ปี 6 เดือน
ทารกที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหัดเยอรมันแต่กำเนิดหลีกเลี่ยงการไปที่สาธารณะเป็นเวลา 1 ปี เสี่งต่อการแพร่สู่ผู้อื่น
การป้องกัน
Gramma globulin
ขณะตังครรภ์ไม่สัมผัสโรค
Vaccine ในหญิงวัยเจริญพันธุ์
การทำแท้ง
เอดส์
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่ปรากฎอาการเมื่ออายุ 1 ปี เฉลี่ย 5 ด. หลัง อายุ 2 ปี (21%)
LBW SGA Anormaly
อาการนิยามตาม WHO
Major Signs
น้ำหนังลด ท้องร่วงเรื้อรัง ไข้เรื้อรัง มีการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างที่รุนแรงมากหรือต่อเนื่อง 2 เดือน
Minor Signs
ต่อมน้ำเหลืองโตมากกว่า 3 จุด , ตับม้ามโต, Orlando pharyngeal candidiasis , ติดเชื้อไม่รุนแรงซ้ำๆ , ไอเรื้อรัง , มีผื่นที่ผิวหนัง
การรักษา
สตรีที่ติดเชื้อ HIV ส่งผ่านสู้ทารกร้อย 30
ได้รับยาต้านไวรัส ลดลงงจาก ร้อยละ 25.5 เหลือร้อย 8.3
การคลอดปกติและ ผ่าท้องคลอด อัตรการติดเชื้อ ไม่แตกต่าง
การป้องกัน
ให้ยาต้านไวรัส zidovudine (ZDC, AZT ) 500 mg วันละ 5 ครั้ง ในมารดาที่ติดเชื้อตั้งแต่อายุครรภ์14-34 wk เริ่มตั้งครรภ์ถึง 36 wk 300 มก. เช้าเย็น เมื่อเจ็บครรภ์ 300 มก. ทุก 3 ชม. จนคลอด
วิธีการคลอด c/s
การดูแล
ดูแลตามปกติ หลีกเลี่ยงการให้นมารดา รับประทานอาหารเสริมตามวัย
การให้วัคซีน BCG สามารถฉีดได้หากไม่มีอาการแสดงของเอดส์ แต่ถ้ามีอาการงดฉีดวัคซีนอื่นฉีดได้ปกติ
'
นางสาวกัญญารัตน์ สิงห์ธรรม เลขที่ 25A รหัส 633020110688