Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร -…
หน่วยที่ 7
องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
7.2 องค์กรรัฐองค์กรวิสาหกิจและองค์กรมหาชนกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
7.2.1องค์กรรัฐที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรรัฐ องค์กรที่จัดตั้งโดย พรบ กฏหมาย กฏระเบียบของประเทศ ของกระทรวงและกรมซึ่งเป็นสถาบันราชการเป็นตัวกำหนดและการจัดตั้ง
ประเภทบทบาทองค์กรขององค์กรรัฐ
ประเภท
การบริหารราชการส่วนภูมิภาค
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
การบริหารราชการส่วนกลาง
บทบาท มีบทบาทความรับผิดชอบของแต่ละองค์กรที่กำหนดไว้ตามกฏหมายตามบทบาทการรวมองค์กรราชการคือ การกำหนดแผนนโยบาย แผนการจัดการทรัพยากรร่วมกับองค์กรต่างๆทั้งภาคเอกชนและประชาชน
7.2.2 องค์กรรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรมหาชนเป็นหน่วยงานของรัฐประเภทที่สามนอกเหนือจากส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่มีมาจากแนวคิดและหลักกฎหมายองค์การมหาชนของฝรั่งเศสซึ่งใน พรบ.ดังกล่าวได้นำมาปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพการบริหารของไทย
องค์การของรัฐบาลหรือหน่วยงานธุรกิจของรัฐบาลหรือบริษัทหรือกห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลใดๆ
7.3 องค์กรธุรกิจเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชนในการส่งเสริมการเกษตร
7.3.1 องค์กรธุรกิจเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
ประเภทและบทบาทขององค์กรธุรกิจเอกชน
บทบาทของธุรกิจเอกชน
ส่งเสริมการลงทุนในธุรกิจต่างๆ
ประสานงานด้านการตลาดและการส่งออก
ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่เกษตรกรและชุมชน
การสนับสนุนปัจจัยการผลิตต่าง
เป็นแหล่งรับรองการผลิต
การวิจัยและการพัฒนา
ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรในการปรับปรุงการผลิต
ประเภทองค์กรธุรกิจเอกชน
องค์กรธุรกิจที่มีลักษณะเป็นห้างหุ้นส่วน
บริษัท
องค์กรธุรกิจที่มีเจ้าของคนเดียว
การที่เอกชนหรือกลุ่มของเอกชนซึ่งประกอบด้วยผู้ถือหุ้นร่วมกันเป็นเจ้าของธุรกิจเอกชนโดยมีส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดเป็นผู้ดำเนินธุรกิจมีวัตถุประสงคืหลักร่วมกัน คือการหากำไร "องค์กรธุรกิจเอกชน"
7.3.2 องค์กรพัฒนาเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรพัมนาเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชนเป็นองค์กรที่ไม่ใช่องค์กรของรัฐและไม่ใช่องค์กรธุรกิจีท่แสวงหากำไรหากเป็นองค์กรที่เกิดขึ้นจากากรรวมตัวของกลุ่มบุคคลตั้งเป็นองค์กร โครงการ สมาคม ชมรม มูลนิธิหรือสถาบัน
ความสำคัญขององค์พัฒนาเอกชนมีส่วนสำคัญในการพัฒนาสังคมโดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรหรือกลุ่มคนด้อยโอกาสอื่นๆ และเป็นองค์กรที่จะมีส่วนเสริมงานที่ภาครัฐหรือส่วนอื่นๆดำเนินการได้ไม่ทั่วถึง
7.1 องค์กรเกษตรกรและองค์กรประชากรกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
7.1.1องค์กรเกษตรกรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในส่งเสริมการเกษตร
ความสำคัญ
การเพิ่มโอกาสในการแก้ปัญหาโดยการใช้ปัจจัยของกลุ่ม
การเกิดอำนาจหรือพลังีท่เกิดการรวมตัวกัน
คนที่เข้าร่วมก็จะมีความรู้ความสามารถมากขึ้น
กรณีตัวอย่าง
องค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน
สมัชชาชาวประมงพื้นบ้าน
องค์กรเกษตรกร เป็นองค์กรที่เกิดจากการรวมตัวของเกษตรกรเพื่อทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งร่วมกันแก้ไขปัญหาการประกอบอาชีพการเกษตรและช่วยเหลือเกื้อกูลในหมู่สมาชิกหรือเครือข่าย
7.1.2 องค์กรประชาชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
ความสำคัญ
สังคมทำหน้าที่จัดตั้งบนพื้นฐานหลักการองค์กรประชาชน
องค์กรประชาชนไม่ใช่ของใหม่ในประวัติศาสตร์
การพัฒนาที่มุ่งเน้นตัวประชากร
การจัดตั้งองค์กรประชาชน ทำให้ประชาชนวางแผนเป็นระบบ
กรณีตัวอย่าง
ประชาคมเมืองอุทัย (ระดับจังหวัด)
ประชาคมตำบลแจ้งใหญ่ (ระดับตำบล)
องค์กรประชาชน การที่คนเห็นวิกฤตการณ์หรือสภาพปัญญาในสังคมที่สลับซับซ้อนยากแก่การแก้ไขมีวัตถุประสงค์ร่วมกันซึ่งนำไปสู่การก่อจิตสำนึกร่วมกัน ก่อเป็นองค์กร
7.4 องค์กรต่างประเทศและระหว่างประเทศและเชื่อมโยงระหว่างองค์กรในการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
7.4.1 องค์กรต่างประเทศและระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรต่างประเทศเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรมีทั้งองค์กรจากประเทศใดประเทศหนึ่งและองค์กรระหว่างประเทศ โดยองค์กรต่างประเทศจากประเทศใดประเทศหนึ่งซึ่งเรียกว่าองค์กรต่างประเทศ ขณะที่องค์กรระหว่างประเทศเป็นองค์กรที่เกิดจากหลายประเทศร่วมกันก่อตั้งขึ้นอาจมีทั้งข้อจำกัดจำนวนสมาชิกหรือไม่จำกัดจำนวนสมาชิก
ประเภทบทบาทขององค์กรต่างประเทศและระหว่างประเทศ
ประเภท
องค์กรที่จัดตั้งโดยรัฐ
องค์กรที่จัดตั้งโดยภาคเอกชน
บทบาท
บทบาทหลักในการให้ทุน
บทบาทหลักในการปฏิบัติการพัฒนาหรือจัดการทรัพยากร
7.4.2การเชื่อมโยงระหว่างองค์กรในการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
ความเชื่อโยงในมิติงานต่างๆ
การเชื่อมโยงในมิติบทบาทการปฏิบัติงานและการสนับสนุนซึ่งกันและกัน