Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
✋👁บทที่ 5 การรับรู้👅👂 - Coggle Diagram
✋👁บทที่ 5 การรับรู้👅👂
กระบวนการการรับรู้
1.การเลือกรับรู้
2.การจัดข้อมูล
3.การตีความ
โครงสร้างของอวัยวะรับสัมผัส
การได้ยิน
ความถี่
แอมพิจูด
การมองเห็น
การชินความมืด
การชินความสว่าง
การได้กลิ่น
การชินกลิ่น
การรับรัส
รับรสทั่วไป
รับรสโดยเฉพาะ
ชนิดของรสชาติ
2.เปรี้ยว
เตือนถึงความเป็นพิษ
1.เค็ม
3.หวาน
4.ขม
การรับสัมผัส
ความรู้สึกสัมผัส
ความรู้สึกเย็น
ความรู้สึกเจ็บปวดเป็นความรู้สึก
ธรรมชาติของการรับรู้
1.การเลือกสิ่งที่รับรู้
ความซ้ำ
ความซับซ้อน
ความเข้มข้น
เลือกสิ่งที่ต้องการ
ความเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
ความเปลี่ยนแปลงกะทันหัน
2.การจัดหมวดหมู่ของการรับรู้
เกณฑ์การจัดหมวดหมู่
ความคล้าย
ความต่อเนื่อง
ความใกล้ชิด
ความสมบูรณ์
ความคงที่ในการรับรู้
3.การรับรู้ภาพและพื้น
คุณสมบัติ
ภาพจะมองเห็นปรากฎเด่นอยู่ใกล้ตัวผู้ดู
ภาพจะมองดูมีชีวิตจิตใจ มีความหมายและจำได้ง่าย
ภาพจะมองเห็นเป็นสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โครงภาพมีเส้นรอบรูปที่ชัดเจน
การบิดเบือน
เกิดจากการลวงตาเป็นการรับรู้ที่ผิดจากความเป็นจริง
ปัจจัยที่มีอธิพลต่อการรับรู้
1.คุณสมบัติของผู้รับรู้
3.ประสบการณ์ในอดีตและการเรียนรู้
4.แรงจูงใจหรือความต้องการ
2.บุตตลิกภาพและค่านิยม
5.ความสอดคล้องกับสภาวะภายใน
1.ความคุ้นเคยกับสิ่งเร้า
6.ขีดจำกัดและความสมบูรณ์ทางร่ายกาย
2.คุณสมบุติของสิ่งเร้า
4.ความแปลกใหม่และความคุ้นเคย
5.การเคลื่อนไหว
3.ความเด่นหรือการตัดกัน
6.ความถี่
2.ความเข้มของสิ่งเร้า
7.สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
1.ขนาดของสิ่งเร้า
การรับรู้
สาเหตุของการผิดพลาดในการรับรู้
4.การใช้การเปรียบเทียบ
2.การมีรูปแบบเดียวกัน
5.การเลือกรับรู้
1.ผลกระทบจากการรับรู้
6.การบิดเบือน
3.การปกป้องตนเอง
การประเมินค่าจากสิ่งที่รับรู้
1.เลือกสิ่งที่จะรับรู้
2.การแปลความหมาย
3.ความคาดหวัง
การเตรียมการรับรู้
เป็นผลของการคาดหวัง เมื่อผู้รับรู้คาดหวังอะไรก็เตรียมพร้อมที่จะรับรู้สิ่งนั้น
การรับรู้ลักษณะต่างๆ
1.การรับรู้เนื่องจากประสบการณ์
2.การรับรู้ทางตา
3.การรับรู้การเคลื่อนไหว
4.การรับรู้พิเศษ
ทรรศนะแห่งการรับรู้และทัศนมายา
ทัศนะแห่งการรับรู้
การเกิดทัศนียภาพขนาด
การเกิดทัศนียภาพของเส้น
ระดับที่จ่างกันบนแนวระนาบ
ทัศนมายา
การเติมสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
การมีขนาดสัมพะนธ์กัน
การเกิดมุมหรือการตัดกันของเส้นตรง