Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับ อุบัติเหตุและสารพิษ - Coggle Diagram
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับ
อุบัติเหตุและสารพิษ
ไฟไหม้และน้ำร้อนลวก (Burn and scald)
ประเมินความลึก
ระดับหนึ่ง เนื้อเยื่อชั้นผิวหนังจะถูกทำลายเพียงบางส่วน เป็นชิ้นอื่นๆ มีเฉพาะอาการผื่นแดงแสบปวด ร้อนเท่านั้น ผิวหนังยังไม่พอง
ระดับสอง มีการทำลายของผิวหนังบางส่วนเช่นกัน จะปรากฎอาการบวมแดงมากขึ้น มี ผิวหนังพอง (blister) และมีน้ำเหลืองซิม
3.ระดับสาม ชั้นของผิวหนังจะถูกทำลายทั้งหมด บาดแผลจะลึกมากถึงขั้น dermis และอาจลึกถึงชั้น adipose tissue fascia ชั้นกล้ามเนื้อ และกระดูก
การช่วยเหลือในที่เกิดเหตุ
กำจัดสาเหตุของความร้อนที่เผาไหม้ หรือพวกตัวเด็ก ถอดเสื้อผ้า พร้อมเครื่องประดับที่ได้รับความร้อนออก ถ้าถูกสารเคมีให้ล้างออกด้วยน้ำมากๆ
ใช้น้ำเย็น 8-23 องศาเซลเซียส ประคบหรือชโลมบาดแผล
3.ใช้น้ำสะอาดล้างบาดแผลก่อนนำส่งโรงพยาบาล ได้ แต่ห้ามใช้น้ำยาฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์หรือสารอื่นๆ
การรักษา
1.รักษาแบบผู้ป่วยนอก เป็นผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย
รับเข้ารักษาในโรงพยาบาล
2.1 ช่วยหายใจ เด็กที่ลุกไฟไหม้ในที่บิด
2.2 ดูแลระบบไหลเวียน ภาวการณ์ไหลเวียนล้มเหลว
2.3 ช่วยเหลืออื่นๆ
2.3.1 การให้เลือด
2.3.2 การให้ยา
2.3.3 การรักษาบาดแผล ถ้าเป็นบาดแผลที่ไม่ลิก
2.3.4 การทำ escharotomy eschar คือภาวะที่ทำให้เกิดการบีบรัดตึงของผิวหนัง
2.3.5 การตกแต่งบาดแผล (debridement) เป็นการกำจัดเนื้อตายจากบาดแผล
2.3.6 การปลูกถ่ายผิวหนัง (skin graft)
สิ่งแปลกปลอมเข้าคอ
การสำลักสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ แบ่งเป็น 3 ระยะดังนี้
ระยะที่ 1 เหตุการณ์เริ่มต้นผู้ป่วยจะมีอาการไออย่างรุนแรง มีอาการหายใจไม่ออก
ระยะที่ 2 ช่วงไม่แสดงอาการ เพราะสิ่งแปลกปลอมอาจเกาะนิ่งอยู่ที่ผนังหลอดลมหรือไอปนเลือด ปอดอักเสบ หรือมีภาระปอดแฟบ
ระยะที่ 3 ระยะที่มีภาวะแทรกซ้อนจากการอุดกั้นทางเดินผู้ป่วยอาจมีไข้สูง ไอ เรื้อรัง
การป้องกัน
ไม่ควรปล่อยเด็กเล็กไว้ตามลำพัง
เก็บยา น้ำยาทำความสะอาด อื่นๆ ที่เป็นอันตรายกับเด็ก ให้พ้นสายตาและมือเด็ก
ไม่ควรเก็บอาหารกับสารเคมีปะปนไว้ในที่เดียวกัน
ใช้สารเคมีหรือยาบางอย่างถ้าต้องวางมือ ให้เก็บของนั้นให้เรียบร้อย
ไม่ควรรับประทานยาให้เด็กเห็น เพราะเด็กชอบเลียนแบบ
การได้รับสารพิษ (poisoning)
ชนิดของสารพิษ
กลุ่มสารพิษที่มีสารตะกั่ว
กลุ่มสารกัดกร่อน เป็นสารเคมีที่มีฤทธิ์อ่างที่เข้มข้น
กลุ่มน้ำยาทำความสะอาดเสื้อผ้า หรือทำความสะอาดร่างกาย
กลุ่มไฮโดรคาร์บอน
กลุ่มยาฆ่าแมลง
กลุ่มยารักษาโรค เช่น paracetamol, aspirin, morphine, antihistamine
การช่วยเหลือเด็กได้รับสารพิษ
1.กาจัดสารพิษออกจากร่างกาย
1.1 ทางผิวหนังถอดเสื้อผ้าออกแล้วชำระล้างร่างกาย
1.2 เปิดตาใหกว้างล้างน้ำอุ่นมากๆนาน5-10นาที
1.3 การสุดดมนำเด็กออกจากบริเวณที่เกิดเหตุสุดดมอากาศบริสุทธิ์
1.4 การกิน
การทำให้สารพิษเจือจาง
ให้ยาแก้พิษโดยตรง
ให้การช่วยเหลือตามอาการ
จมน้ำ (Near Drowning)
จมน้ำจืด
น้ำจืดเป็น hypotonic Solution เพื่อสำลักเข้าไปในปอด จะถูก ดูดซึมเข้าไปในกระแสเลือดทางปอดอย่างรวดเร็ว ช่วงที่ ผ่านถุงลมปอดsurfactant ในถุงลมปอดจะถูกทำลายทำให้ปอดแฟบ
จมน้ำเค็ม
น้ำเค็มเป็น hypertonic Solution ทำให้ของเหลวในหลอดเลือด ถูกดึงเข้าไปในถุงลมปอด มีของเหลวในถุงลมปอดเพิ่มมากขึ้น ถุงลมปอดจะโป่งเเละเเตก
การประเมินสภาพ
กลุ่ม A (awake) เด็กรู้สึกตัวดีตลอด คะแนน GCS 15 ผลการรักษาดีมาก ขึ้นเป็นปกติ
กลุ่ม B (blunt)เป็นกลุ่มที่เด็กพอจะรู้สึกตัวบ้าง หายใจปกติ คะแนน GCS 10-13 ผลการรักษา หายเป็นปกติ
กลุ่ม C (coma) เป็นกลุ่มที่สมองได้รับอ้นตราบรุนแรง หมดสติ ปลุก ไม่ตื่น ตอบสนองต่อ ความเจ็บปวดอย่างไร้จุดหมาย หายใจผิดปกติ
3.1 กลุ่ม C (decorticate) มีการตอบสนองต่อความเจ็บปวดโดยการ งอแขนขาเข้าหากันและหายใจไม่สม่ำเสมอ คะแนน GCS 5 อัตรารอดตายประมาณร้อยละ 40-60
3.2 กลุ่ม C (decer ebr ate) มีการตอบสนองต่อความเจ็บปวดโดยแขน เกร็ง หายใจหอบเร็ว คะแนนGCS 4 โอกาสรอดชีวิตประมาณร้อยละ 30-50
3.3 กลุ่ม C (flaccid) เด็กจะอ่อนปวกเปียกไม่มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อการเจ็บปวด หยุดหายใจเป็นช่วงๆ