Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับ - Coggle Diagram
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับ
อุบัติเหตุ(accident)
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดอุบัติเหตุ
ประวัติของการเกิดอุบัติเหตุให้ชัดเจน เกิดอะไรขึ้น นานเท่าไร ช่วยปฐมพยาบาล
2.ประเมินการทางานของอวัยระระบบหลักๆ ที่คุกคามต่อชีวิตของเด็กก่อน
ระบบหายใจ ประเมินคุณภาพการ หายใจอัตราการหายใจ
ระบบหใจและหลอดเลือดประเบิน ลกัษณะสีผอาจซีดจากเลือดออก
ระบบประสาทประเมินระดับความรู้สึกตัว
อุบัติเหตุที่พบบ่อยในเด็กตามกลุ่มอายุ
0-1 ปี = ตกจากที่สูง สำลักสิ่งแปลกปลอน ได้รับสารพิษ ไฟไหม้น้ำร้อนลวก จมน้ำ
1-4 ปี = ตกจากที่สูง จมน้ำ รถจ์กรยานยนต์ ได้รับสารพิษ ไฟไหม้น้ำร้อนลวก
5-9ปี = รถจักรยานยนต์ รถจักรยาน จมน้ำไฟไหม้ อาวุธปืน
10-14= รถจักรยานยนต์ จมน้ำไฟไหม้น้ำร้อนลวก อาวุรปืน ตกจากที่สูง รถจักรยาน
15-18 = รถจักรยานยนต์ จมน้ำ ตกจากที่สูง อาวุธปัน
Cardiopulmonary Resuscitation(CPR)
การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้นให้ กลับมาหายใจ และมีการไหลเวียนออกชิเจนรวมทั้งเลือดกลับคืนสู่ สภาพเดิม พร้อมทั้งป้องกันเนื้อเยื่อไม่ให้ได้รับอันตรายจากการขาด ออกซิเจน
เทคนิคการคลำชีพจร
1.ทารกหรือเด็กเล็ก ให้คลำที่ต้นแขนด้านในหรือขาหนีบ
2.เด็กโตหรือวัยรุ่น ให้คลำที่บริเวณ คอด้านข้าง
การประเมินสภาพ
สัญญาณชีพ
การตรวจประเมินทาง ระบบประสาท
2.1 ระดับการเปลี่ยนแปลงของการรู้สติ การใช้ เครื่องมือ Glasgow coma scale (GCS)
การสื่อภาษา (verbral response)
การเคลื่อนไหวที่ดี (motor response)
2.2 ปฏิกิริยาของรุม่านตาต่อแสง การทำงานของระบบประสาทอัตโนม์ดิพาราชิพพาเธติดทีทอดรวมมากับประสาทสนอง คู่ที่ 3
2.3 การเคลื่อนไหวของแบน บา ความผิดปกติบองการ เคลื่อนไหวของแบน บาอาจทำให้เกิด อุบัติเหตุได้ ไม่ควรมีไว้ในบ้าน
3, การตรวจประเมินอื่น ๆ เช่น การถ่ายภาพ รังสีกะโหลกศีรษะ CT Scan หรือ MRI
กระดูกหักและข้อเคลื่อน (Fracture and Dislocation)
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก (fracture of clavicle)
กระดูกต้นแบนหัก (fracture of humerus)
กระดูกข้อศอกหัก (supracondylar fracture)
การเคลื่อนของหัวกระดูก เรเดียส (pulled elbow)
กระดูกปลายแบนหัก
กระดูกต้นบาหัก (fracture of femur)
อาการและอาการแสดง
1.1. มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่ กระดูกมีพยาธิสภาพ
2.2. บวม เนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่ กระดูกหัก
3.3.รอยเขียว เนื่องจากมีเลือดซึม จากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
4.4. อวัยระส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมี ลักษณะผิดรูป
การจำแนกกระดูกหัก
1.แบ่งตามชนิดของกระดูกหัก
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ ได้รับอุบัติเหตุ
1.1 กระดูกหักที่ไม่มีแผลทะลุติดต่อกับ ผิวหนังภายนอก (close fracture หรือ simple fracture )
1.2 กระดูกหักที่มีทางติดต่อหรือแผลทะลุ ผิวหนังบริเวณที่มีกระดูกหัก (open fracture หรือ compound fracture)
แบ่งตามปริมาณ การแตกของกระดูก
2.1 กระดูกหักหรือแตกแล้วแยกจากกันโดย เด็จบาด (Complete Fracture) อาจ
เป็น 2 ท่อน หรือหลายท่อนก็ได้
แบ่งตามลักษณะรอยหัก