Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
GDM A2 with Induction with Poor maternal effort, ทฤษฎี, ผู้ป่วย, ผู้ป่วย,…
GDM A2 with Induction with Poor maternal effort
ข้อมูล
ประวัติการตั้งครรภ์
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
G1P0A0 GA 38+4 wks by date LMP 08 ก.ค.64 * 6 days EDC by date 14 เม.ย. 65 ฝากครรภ์ที่โรงพยาบาตำรวจทั้งหมด 19 ครั้ง 1st ANC วันที่ 26 สิงหาคม 2564 GA 6+6 wks by date, 1st U/S วันที่ 26 สิงหาคม 2564 GA 6+6 wks by date, 2nd U/S วันที่ 23 กันยายน 2564 GA 18 wks by date
ผลตรวจจาก ANC
Urine albumin/sugar Negative
serorogy
HBsAg= Negative
HBsAg= Negative
Alb= Negative
VDRL-non reactive
BS 50gm-1hr = 158 mg/dl OGTT = 90,189,162,130
ไม่มีประวัติการตั้งครรภ์ในอดีด
Preg 24 wks คัดกรองเบาหวานเนื่องจากบิดาเป็นเบาหวานและหญิงตั้งครรภ์อายุมากกว่า 30 ปี โดยดื่มน้ำตาลกลูโคส BS 50gm-1hr = 158 mg/dl แพทย์จึงนัด 4 wks เพื่อเจาะ OGTT
Preg 28 wks (วันที่ 20 ม.ค. 65) เจาะ OGTT = 90,189,162,130 ส่งปรึกษาอายุรกรรม แพทย์ให้ควบคุมอาหารและสอน SMBG keep 70-95 mg/dl , โดย 1hr PP (เจาะเลือดหลังรับประทานอาหาร 1 ชั่วโมง) นัดมา F/U ตามนัดในวันที่ 3 ก.พ. 65
Preg 30 wks (วันที่ 3 ก.พ. 65) SMBG เกินค่าที่แพทย์กำหนด 1hr PP = 110-140 mg/dl จึงแนะนำควบคุมอาหารและให้ NPH 12-0-0-12 (9.00,21.00 น.) นัดพบแพทย์ซ้ำ 1 wks (10 ก.พ. 65)
Preg 31 wks (วันที่ 10 ก.พ. 65) ค่า SMBG ยังเกินค่าที่แพทย์กำหนด แพทย์จึงสั่งเพิ่ม NV 0-6-0 unit ( เที่ยง )
Preg 32 wks (วันที่ 17 ก.พ. 65) ค่า SMBG ยังเกินค่าที่แพทย์กำหนด แพทย์จึงสั่งเพิ่ม NV 0-6-6 unit ( เที่ยง,เย็น )
Preg 37 wks (วันที่ 21 มี.ค. 65) แพทย์ปรับ NV 0-8-6 unit ( เที่ยง,เย็น ) และแนะนำการใช้ teleconsultation app และนัดมา induction of labor ชักนำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด วันที่ 3 พ.ค. 65
Preg 38+3 wks (วันที่ 3 มี.ค. 65) เวลา 20:00 น. ที่ตึกมภร ชั้น 17 แพทย์เหน็บ cytotec (200ไมโครกรัม) 1/8 tabและได้รับ 5% DN/2 100 ML + oxytocin 10 unit IV drip stat 16 ml/hr เพื่อชักนำการคลอด 30 นาทีก่อนย้ายมาห้องคลอด ผู้ป่วยมีอาการเจ็บครรภ์ มีน้ำเดิน มีมูกเลือด ลูกดิ้นดีกว่า 10 ครั้ง/วัน ไม่มีจุกแน่นลิ้นปี่ ไม่มีตาพร่ามัว ไม่มีปวดหัว ไม่มีแขนขาหน้าบวม
หญิงตั้งครรภ์ สัญชาติไทย อายุ 34 ปี
G1P0A0 GA 38+4 wks by date.
LMP 08 ก.ค 64 * 6 days EDC by date 14 เม.ย 65
ระดับการศึกษาปริญญาโท
อาชีพ : สัตวแพทย์
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 03 เมษายน 2565
การวินิจฉัยโรคแรกรับ : Preg c GDMA 2 c Induction
ประวัติการแพ้ยาแพ้อาหาร : ปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาหาร
TWG 13.6 kg ( น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 57.5 kg -> 71.1 kg ) BMI ก่อนตั้งครรภ์ 23.03 ส่วนสูง 158 cm
ANC rick GDM A2
ผู้ป่วยปฏิเสธการใช้สารเสพติด การสูบบุหรี่ และแอลกอฮอล์
แรกรับที่ LR
ABD : FH ¾ > Vx, Head engagement , Position OR, FHS 150 bpm
PV : 3cm, EFF 100%, Station 0, ML clear
Contraction: Interval = 5 min, Duration = 30 sec, Intensity ++
Pain score 6 คะแนน
ประวัติการเจ็บป่วย
อาการสำคัญ : นัดมา induction of labor
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน : มาตามนัด induction of labor 1 ชม.ก่อนมาโรงพยาบาลรับใหม่ที่ มภร 17 ไม่มีอาการเจ็บครรภ์ ไม่มีน้ำเดิน ไม่มีมูกเลือด ไม่มี contraction ลูกดิ้นดีกว่า 10 ครั้ง/วัน ไม่มีจุกแน่นลิ้นปี่ ไม่มีตาพร่ามัว ไม่มีปวดหัว ไม่มีแขนขาหน้าบวม ได้รับการเร่งคลอด โดยเหน็บ Cytotec (200mcg) 1/8 tab และได้รับ 5% DN/2 100 ML + oxytocin 10 unit IV drip stat 16 ml/hr
30 นาที เวลา 00:15 น. ก่อนย้ายไปห้องคลอด มีอาการเจ็บครรภ์ มีน้ำเดิน มีมูกเลือด ลูกดิ้นดีกว่า 10 ครั้ง/วัน ไม่มีจุกแน่นลิ้นปี่ ไม่มีตาพร่ามัว ไม่มีปวดหัว ไม่มีแขนขาหน้าบวม
ประวัติการเจ็บป่วยของตนเอง : - GDM A2 diagnosed at GA 28 wks by date on Gensulin 12-0-0-12 unit withNovorapid 0-8-6 unit
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : บิดาเป็น เบาหวาน (DM)
ประวัติการผ่าตัด : มีประวัติ Hysteroscopic polypectomy ผ่าตัดติ่งเนื้อผ่านส่องกล้องในโพรงมดลูก (23/03/64)
พยาธิสภาพ
GDM A2
(Gestational diabetes mellitus)
สตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของการเผาผลาญของคาร์โบไฮเดรตเนื่องจากมีความไม่สมดุล ภาวะดื้อต่ออินซูลินทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสุงกว่าปกติอาจเป็นโรคเรื้อรังก่อนตั้งครรภ์หรือเป็นขณะตั้งครรภ์การทำงานของอินซูลินจะถูกขัดขวางจากฮอร์โมนHPLซึ่งจะมีฤทธิ์ต้านอินซูลินทำให้เกิดการเผาผลาญในร่างกายผิดปกติ
กลุ่มความเสี่ยงสูง ได้แก่
อายุ 30 ปีขึ้นไป
เคยมีประวัติ gestational diabetes
BMI > 27
มีญาติสายตรงเป็นเบาหวาน
ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวมากกว่าหรือเท่ากับ 1+
มีประวัติคลอดบุตรน้ำหนัก> 4,000 g, DFIU
7.PIH / มีประวัติ HT
ตั้งครรภ์แฝดน้ำ
ภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อมารดา ; การแท้งบุตร ,การติดเชื้อ , PIH,
รกเสื่อม,คลอดยากเพราะทารกตัวใหญ่กว่าปกติ
ผลต่อทารก ; IUGR,คลอดก่อนกำหนด, ทารกตายระหว่างคลอดและหลังคลอด, Hypoglycemia หลังทารกคลอด
ภาวะตัวเหลืองในทารกสูงขึ้น
การดูแลระหว่างคลอด
เจาะน้ำตาลจากปลายนิ้ว (DTX) แรกรับ
DTX < 100 mg/dl :5%D/N/2 หรือ 5%D/NSS intravenous infusion ไม่ต้องฉีดinsulin
DTX >100 mg/dl : เริ่ม regular (short-acting) insulin หยดเข้าหลอดเลือดดำ โดยให้ผ่าน infusion pump
เจาะ DTX ทุก 1 - 2 ชั่วโมง
การดูแลหลังคลอด
ผู้ป่วย GDMA2 ให้งดอินซูลินได้ตลอดไปเพราะส่วนใหญ่ระดับน้ำตาลในเลือดจะลดลงสู่ระดับปกติหลังคลอด
ผู้ป่วยเบาหวานมาก่อนตั้งครรภ์ ให้งดอินซูลินชั่วคราวติดตามระดับน้ำตาลในเลือดทุก 4 - 6 ชั่วโมง ปรักษาอายุรกรรมเพื่อวางแผนการให้ insulin เพื่อควบคุมระดับน้ำตาล
เจาะน้ำตาลจากปลายนิ้ว (DTX) แรกรับ = 72 mg/dl
ดูแลให้ได้รับ 5% DN /2 IV 1000 ml/hr.
order เจาะ DTX ทุก 2 ชั่วโมง (คลอดก่อน)
มีแนวโน้มเป็น Hypoglycemia
ติดตามค่าระดับน้ำตาลในกระแสเลือดทุก2ชั่วโมง
สังเกตอาการอย่างใกลัชิด
ดูแลให้งดน้ำและอาหารทางปาก และ
ให้ได้รับสาน้ำตามแผนการรักษาคือ 5% DN /2 IV 1000 ml/hr.
Pt.อายุ 34 ปี on Gensulin 12-0-0-12 unit with Novorapid 0-8-6 unit
บิดาเป็นเบาหวาน
Induction
คือการชักนำทำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอดหรือทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงโดยทำให้มดลูกหดรัดตัวหรืนุ่มขึ้น
แบ่งเป็น 4 กลุ่ม
ใช้เครื่องมือ
ใช้หัตถการ
ใช้ยา
ใช้หลายวิธีร่วม
ข้อบ่งชี้
ข้อบ่งชี้ทางทารก
Fetal growth restriction โตช้าในครรภ์
Premature rupture of membranes(PROM)
Chorioamnionitis ภาวะถุงน้ำคร่ำอักเสบ
Oilgohydramnios น้ำคร่ำน้อย
Postterm pregnancy
Abruptio placentae
Fetal demise ทารกตายในครรภ์
ข้อบ่งชี้ทางมารดา
Hypertensive disorder in pregnancy (preeclampsia, eclampsia,CHT,PAH)
Maternal medical problems ( DM , heart ,lung and renal disease)
Distance from hospital ชนบทไกลจาก รพ.
Advanced cervical dilatation in the absence of active labor
Psychosocial indication สภาพจิตใจ
3.การชักนำการคลอดโดยการใช้ยา (Medical induction of labor)
การใช้ oxytocin ทางหลอดเลือดดำ
บริหารยา
เจือจาง oxytocin ในน้ำเกลือและให้ผ่านเครื่องปรับยาอัตโนมัติ (automatic infusion pump) เพื่อ จะได้ปริมาณยาที่ถูกต้องไม่คลาดเคลื่อน เช่น ผสม oxytocin 5 ยูนิตในน้ำเกลือ (เช่น 5 % dextrose) 1000 ml. เมื่อบริหารยา 3 drops/minute จะได้ oxytocin 5 m unit/minute แต่ถ้าผสม 10 units และให้ในจำนวนหยดเท่ากันก็จะได้ oxytocin 2 m unit/minute
ควรปรับยาให้มีการหดรัดตัวของมดลูกใกล้เคียงกับการเจ็บครรภ์ตามธรรมชาติ คือ หดรัดตัวนาน 40-60 วินาที และหดรัดตัวทุก ๆ 2-3 นาที
ได้รับ 5% DN/2 100 ML + oxytocin 10 unit IV drip stat 16 ml/hr.
การใช้ Prostaglandins
Prostaglandin E2 (PGE2)
Prostaglandin E1 analog : misoprostol สอดช่องคลอด
ราคาถูกมากกว่าสามารถเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิห้องได้ และประสิทธิภาพในการชักนำการคลอดเหนือกว่า PGE2
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
มดลูกแตกจากการหดรัดตัวที่มากหรือแรงเกินไป
การคลอดที่เร็วเกินไป อาจทำให้ปากมดลูกหรือช่องคลอดฉีกขาดได้
การติดเชื้อในโพรงมดลูกถ้าระยะเวลาตั้งแต่เจาะถุงน้ำจนกระทั่งคลอดนานเกินไป
ต่อทารก
ทารกขาดออกซิเจนจากมดลูกหดรัดตัวมากเกินไป
สายสะดือย้อย
04/04/65 เวลา 02:00 น. FHS drop 110-140 bpm
นอนตะแคงซ้าย
ให้ออกซิเจน cannula 5 lpm
5% DN /2 1000 ml IV 1000 ml / hr.
03/04/65 เวลา 20:00 น. ได้รับยา Cytotec (200 mcg) 1/8 tab PGE1 เหน็บทางช่องคลอด
มีประวัติ
GDM A2 diagnosed at GA 28 wks by date
สตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์และทารกจะเพิ่มความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อน (เช่น ความดันโลหิตสูง ทารกตัวใหญ่) เนื่องจากภาวะแทรกซ้อนบางครั้งเกี่ยวข้องกับการคลอดทารกตัวโต
หญิงตั้งครรภ์มีภาวะน้ำตาลในเลืดสูงทำห้หลอเลือดเเข็งตัวกรส่งเลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆโดยเฉพาะทารกในครรภ์ไม่เพียงพอ อาจทำให้ทารก Fetal distress ได้ แพทย์หลายท่านแนะนำว่าควรการชักนำให้เจ็บครรภ์คลอดตอนครบหรือใกล้ครบกำหนด (37 ถึง 40 สัปดาห์) แทนการรอให้เจ็บครรภ์เองหรือจนตั้งครรภ์ 41 สัปดาห์
สูติศาสตร์หัตถการเพื่อช่วยคลอดทางช่องคลอด
Forceps delivery and vacuum extraction
Vacuum extraction
คือการคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศช่วยคลอด โดยผู้ทำคลอดออกแรงดึงบนถ้วยที่เกาะติดกับหนังศีรษะทารก
ข้อบ่งชี้
Arrest or prolonged second stage of labor
Hypotonic uterine contraction แรงการหดรัดตัวน้อย
อ่อนเพลีย ไม่มีแรงเบ่งหรือเบ่งไม่ดี ปากมดลูกเปิด 8-10 cm.
มีโรคแทรกซ้อน เช่น heart ปอด ความดันโลหิตสูง severe pain
Malrotation of fetal head เช่น ท่า OP, OT
Fetal distress ไม่รุนเเรง
มารดามีแรงเบ่งน้อบ เบ่งออกเสียง ดิ้นไปมา
ปากมดลูก Fully dilated
ผู้ป่วยมี severe pain
ข้อห้าม
Absolute CPD
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น face, breech, transverse lie
อายุครรภ์น้อยกว่า 34 wks
Fetal distress รุนแรง ต้องช่วยคลอดโดยเร็ว
Prolapsed cord
ศีรษะทารกอยู่สูงเหนือทางเข้าช่องเชิงกราน
ทารกมีขนาดใหญ่
ทารกทำ fetal scalp blood sampling
พร้อมก่อนทำ V/E
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ต้องทราบว่าทารกอยู่ในท่าไหน
มีempty bladder และ rectum
ปากมดลูกต้องเปิด 8-10 เซนติเมตร
การพยาบาล
ก่อนทำหัตถการ
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ชุด Vacuum ซึ่งประกอบด้วยถ้วยสุญญากาศ แผ่นเหล็กพร้อมสายโซ่ ด้ามถือดึงและสายยางพร้อมทั้งเตรียมเครื่องมือในการช่วยฟื้นคืนชีพทั้งมารดาและทารกให้พร้อม
เตรียมผู้คลอดทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ โดยการแจ้งให้ผู้คลอดและญาติทราบถึงวัตถุประสงค์ที่ต้องให้การช่วยคลอดด้วยเครื่องสุญญากาศเนื่องจากผู้คลอดอ่อนเพลียแรงเบ่งจึงไม่ดี
ให้ข้อมูลขั้นตอนของการช่วยคลอดสุญญากาศ ข้อดี ข้อเสียของการทำ เพื่อให้ผู้คลอดและญาติเข้าใจ และให้ความร่วมมือในขณะทำ
เตรียมทีมในการช่วยเหลือเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินให้พร้อม เช่น ทีมสูติแพทย์ กุมารแพทย์ประสานกับแผนกบริบาลทารกป่วยหนักให้รับทราบและพร้อมช่วยเหลือเมื่อมีภาวะฉุกเฉิน
ขณะทำหัตถการ
อยู่เป็นเพื่อนผู้คลอดตลอดเวลา คอยปลอบโยนให้กำลังใจบอกให้ผู้คลอดรับทราบถึงขั้นตอนของการทำให้ทราบทุกระยะเพื่อให้ความร่วมมือเช่นการให้ยาระงับความรู้สึกพร้อมกับแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวของมารดาในขณะที่แพทย์ช่วยเหลือเช่นการเบ่งคลอดที่ถูกวิธีคือเบ่งพร้อมกับการหดรัดตัวของมดลูก
2.ให้คำชมเชยและกำลังใจเมื่อมารดาสามารถปฏิบัติได้ถูกต้องรวมทั้งให้ความมั่นใจว่าทั้งมารดาและบุตรจะได้รับความช่วยเหลืออย่างดีจากแพทย์และพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับตนเองและบุตร
ก่อนแพทย์จะทำสูติศาสตร์หัตถการพยาบาลต้องตรวจสัญญาณชีพ อุณหภูมิ ชีพจรหายใจ ความดันโลหิตของผู้คลอด และฟังเสียงทารกในครรภ์ ทุก 5 นาที พร้อมลงบันทึก ถ้าผิดปกติรีบรายงานแพทย์
เมื่อแพทย์ใส่ถ้วยสุญญากาศในตำแหน่งที่เหมาะสมแล้ว ช่วยลดความดันสุญญากาศลงทีละน้อย ประมาณ 0.2 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร ทุก 2 นาที เพื่อให้ก้อนโน (Artificial caput Succedaneum) ค่อย ๆ สร้างขึ้นมาให้เต็มถ้วย ค่อย ๆ ลดความดันไปเรื่อย ๆ จนถึงระดับ 0.6 และ 0.8 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร แล้วจึงหยุด
5.เมื่อแพทย์เริ่มดึงตรวจดูการหดรัดตัวของมดลูกและรายงานให้แพทย์ทราบเป็นระยะเพื่อแพทย์จะได้เริ่มดึงพร้อมกับการหดรัดตัวของมดลูก
มีการเตรียมช่วยคลอดด้วยการทำผ่าตัดทางหน้าท้องไว้เสมอ เช่นการจองเลือด PRC 1 unit GroupA+เพราะการช่วยคลอดด้วยเครื่องสุญญากาศอาจไม่ประสบผลสำเร็จได้
7.ต้องเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่อมารดาและทารกขณะแพทย์ทำสูติศาสตร์หัตถการ
หลังทำหัตถการ
Record V/S
Observe ลักษณะและปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดเกิน 500 ml หรือไม่
ดูแลให้ได้รับ 5% DN /2 1000 ml IV 1000 ml / hr
4.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ถ้านิ่มให้คลึงทันทีเพราะอาจตกเลือดได้
ดูแลให้ Syntocinon 10ยูนิตทางหลอดเลือดดำเพื่อช่วยการหดรัดตัวของมดลูก
ทำคลอดรกด้วยวิธี Control cord traction
วัดความดันโลหิตและคลึงมดลูกให้แข็งกลมทันทีหลังรกคลอด
ให้ Methergin 0.2mg ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำเมื่อความดันโลหิตไม่สูงกว่า 140/80 mmHg
ดูแลให้ Syntocinon 20 ยูนิต เพิ่มที่ IV fluid เดิม
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ตรวจลักษณะการฉีกขาดของแผลฝีเย็บ และอวัยวะสืบพันธุ์ทำการซ่อมแซมฝีเย็บตามระดับการฉีดขาด
ทารกคลอดเวลา 03:11 น. Apgar scores 9, 10, 10 ทารกปกติไม่มีภาวะแทรกซ้อนเช่น cephalhematoma นน. 3570gm ยาว 53cm
รกคลอดเวลา 03.18 น. นน 680 gm normal รกไม่ค้างหรือขาด
BloodLose = 200 ml ไม่มีอาการหรืออาการแสดงของการตกเลือด
แผลฝีเย็บฉีกขาดระดับ 3 ฉีกขาดไปถึง Anal sphincter
00:30 น. ถุงน้ำคร่ำแตกหมด
ทารกอยู่ในท่า OR
00:45 น. สวนปัสสาวะและอุจจาระ
02:45 น. Fully dilation
กฎเหล็ก
ระยะเวลาที่ถ้วยจับศีรษะไม่เกิน 30 นาที
จำนวนครั้งที่ถ้วยหลุดไม่เกิน 3 ครั้ง
ระดับความดันไม่เกิน 0.8 กก./ตร.ซม.
แนวของการดึงต้องตั้งฉากกับถ้วย
ต้องดึงพร้อมกับ contraction และแรงเบ่ง
ทิศทางการดึงต้องปรับเปลี่ยนตามช่องทางคลอด
ถ้าดึงแล้วศีรษะไม่เคลื่อนตาม ควรยุติ
ไม่ใช้เครื่องดูดสูญญากาศเพื่อหมุนศีรษะทารก
Dx. Poor maternal affort
หลักการเลือกใช้ระหว่าง F/E กับ V/E
F/E
มารดาไม่มีแรงเบ่ง อ่อนเพลีย ทารกอยู่ท่าปกติและท่าก้นยกเว้น CPD แต่ Fully dilated STT=0 ถึง +2 EFF=100%
ส่วนนำทารกอยู่สูงเหนือทางเข้าช่องเชิงกราน
ทารกไม่สามารถหมุนศีรษะเองจน sagittal suture อยู่ในแนวตรง
ต้องรีบช่วยคลอดให้เร็วที่สุดไม่ต้องรอการหดรัดตัวของมดลูกและอุปกรณืไม่มาก หากนานอาจ Fetal distress ได้
มีอันตรายต่อมารกน้อยกว่า แต่มีผลต่อมารดามากกว่าเนื่องการตกเลือดและติดเชื้อ และการฉีกขาดของแผลฝีเย็บ
ผู้ทำคลอดต้องมีความชำนาญอย่างมาก
V/E
มารดาไมีเเรงเบ่ง อ่อนเพลีย ทารกอยู่ในท่าปกติเท่านั้นยกเว้น CPD
PV = 8-10cm.
ศีรษะทารกมีการหมุนเกิดขึ้นเองจน sagittal suture อยู่ในแนวตรง
ช่วยคลอดที่ต้องเวลาไม่เร่งรีบเพราะเตรียมอุปกรณ์และต้องรอการหดรัดตัวของมดลูกแต่ต้องไม่ส่งผลต่อมารดาและทารก หรือรอได้
มีอันตรายต่อทารกมากกว่า แต่อันตรายต่อมารดาน้อยกว่า
ผู้ทำคลอดไม่ต้องฝึกฝนมาก
Forceps delivery
คือการช่วยคลอดด้วยคืม คือ การใช้คืมดึงศีรษะทารกจากช่องทางคลอด โดยไม่ทำให้เกิดบาดเจ็บต่อมารดาและทารก
วัตถุประสงค์
Extraction (ดึงศีรษะทารก)
Rotation (หมุนดีรษะทารท)
Compression (บีบศีรษะทารกให้ยุบ)
Vectis (ปรับทิศทางจอกของศีรษะ)
ข้อบ่งชี้
ด้านผู้ดลอด
Prolonged or Failure of progress in second stage
ผู้คลอดไม่ให้ความร่วมมือในการคลอด เช่น อ่อนเพลีย ไม่มีแรงเบ่ง ได้ยาระงับปวดมาก
Hypotonic UC
โรคแทรกซ้อน เช่น Heartปอด ความต้นโลหิตสูง
ด้านทารก
Fetal distress
ทารกอยู่ในท่าปกติเช่น OP
ส่วนนำเป็นก้น
การหมุนของศีรษะผิดปกติ(Abnormal rotation of head)
ข้อห้าม
CPD
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น ท่าหน้าท่าขวาง ยกเว้นท่ากันสามารถช่วยคลอดศีรษะด้วยคีม
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
มีการบาดเจ็บต่อ facial nerve แต่โดยทั่วไปมักหายได้เอง
มีการบาดเจ็บต่อใบหน้าหรือหนังศีรษะของทารก ซึ่งถ้ามีบาดแผลรุนแรงอาจต้องการการเย็บแผลด้วย
กะโหลกศีรษะหรือกระดูกใบหน้าแตก
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
มีการฉีกขาดของช่องทางคลอด ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องตรวจช่องทางคลอดตั้งแต่บริเวณปากมดลูก, ช่องคลอด, และแผลฝีเย็บ ในภายหลังการคลอดด้วย forceps ทุกครั้ง
อาจทำให้เกิดมดลูกแตกได้ถ้ามีการช่วยคลอดหรือใส่คีมอย่างผิดวิธี
การพยาบาล
ก่อนทำ
อธิบายให้ผู้คลอดทราบ แนะนำการปฏิบัติตัว
เตรียมอุปกรณ์, จัดท่า, ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
สวนปัสสาวะ
ฟัง FHS, สังเกต meconium stained
เตรียมอุปกรณ์ช่วยชีวิตทารกและรายงานกุมารแพทย์
ขณะทำ
แนะนำมารดาหายใจเข้าออกช้า ๆ ขณะแพทย์ใส่เครื่องมือ
บอกให้ทราบเป็นระยะ อยู่เป็นเพื่อน ให้กำลังใจ
ดูแลให้ เV fluid และยาตามแผนการรักษา
ฟัง FHS เมื่อมดลูกคลายตัว และฟังทันทีเมื่อแพทย์ล็อคคีม
ประเมิน contraction และรายงานแพทย์ เพื่อให้แพทย์ดึงคืมขณะมดลูกหดรัดตัว
หลังทำ
Record V /S, observe sign ของภาวะช็อค
Observe ลักษณะและปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ดูแลให้ได้รับ IV fluid
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ถ้านิ่มให้คลึงทันทีและหาสาเหตุรายงานแพทย์
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ตรวจลักษณะแผลฝืเย็บ และอวัยวะสืบพันธุ์
ดูแลทารกแรกเกิดทั่วไป สังเกตภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจาก F/E
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.ทารกในครรภ์มีโอกาสเกิดภาวะพร่องออกซิเจน Fetal distress
3.ผู้คลอดเสี่ยงต่อ Hypo/Hyperglycemia
เนื่องจากมารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
4.มารดามีโอกาสเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมีแผลในโพรงมดลูก และแผลฝีเย็บ
5.มารดาหลังคลอดเสี่ยงต่อการติดเชื้อในโพรงมดลูก และแผลฝีเย็บเนื่องจากคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
2.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น มดลูกแตก หรือ fetal distress เนื่องจากได้รับยาเร่งคลอด
ทฤษฎี
ผู้ป่วย
ผู้ป่วย
ผู้ป่วย
ผู้ป่วย
ผู้ป่วย
ผู้ป่วย
ผู้ป่วย
ผู้ป่วย
ผู้ป่วย
ผู้ป่วย