Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลัง คลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลัง คลอด
Postpartum hemorrhage (PPH)
การตกเลือด คือ การเสียเลือดหลังการคลอดทารก
มีปริมาณเลือดมากกว่า 500 มิลลิลิตร เมื่อคลอดทางช่องคลอด ถ้ามีปริมาณมากกว่า 1000 มิลลิลิตร โดยวิธีการผ่าคลอดทางหน้าท้อง
ระดับความรุนแรงของการตกเลือด
หลังคลอด แบ่งเป็น 3 ระดับ
ระดับเล็กน้อย (Mild PPH) คือ สูญเสียเลือดตั้งแต่ 500 มิลลิลิตรขึ้นไป
ระดับรุนแรง (Severe PPH) คือ สุญเสียเลือดตั้งแต่ 1000 มิลลิลิตรขึ้นไป
ระดับรุนแรงมาก (Very severe or major PPH) คือ สูญเสียเลือดตั้งแต่ 2500 มิลลิลิตรขึ้นไป
ชนิด
การตกเลือดหลังคลอดในระยะแรก (Primary or early postpartumhemorrhage) หมายถึง การตกเลือดที่เกิดขึ้นตั้งแต่หลังคลอดทันทีจนถึง 24 ชม
การตกเลือดหลังคลอดในระยะหลัง (Secondary or late postpartum hemorrhage) หมายถึง การตกเลือดที่เกิดขึ้นในระยะ 24 ชม. จนถึง 6 สป. หลังคลอด
หลัก 4T
Tone ความผิดปกติของการหดรัด
ตัวของมดลูก
Trauma คือ สาเหตุเกี่ยวกับการฉีกขาดของช่องทางคลอด
Tissue คือ สาเหตุที่เกี่ยวกับรก เยื่อหุ้มรกหรือชิ้นส่วนของรกตกค้างในโพรงมดลูก (Retained products of conception)
Thrombin คือ สาเหตุเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออก : เลือดที่ออกมาอาจไหลให้เห็นทางช่องคลอด / คั่งค้างอยู่ภายในช่องทางคลอด
มีอาการของการเสียเลือด : ซีด ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่ำ เหงื่อออก ใจสั่น ตัวเย็น รู้สึกกระหายน้ำ
คลำมดลูกอาจพบว่าอยู่เหนือระดับสะดือหรือมีขนาดใหญ่กว่าปกติ เนื่องจากมีเลือดขังอยู่ภายใน
Late Postpartum hemorrhage
สาเหตุ
มดลูกเข้าอู่ช้า
มีชิ้นส่วนของรกค้างในโพรงมดลูก
มีเนื้องอกของมดลูก
มีการอักเสบในโพรงมดลูก
ปัจจัยส่งเสริมการตกเลือดหลังคลอด
ระยะหลัง
1.เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (C/S)
2.มีภาวะรกติด (Placenta accreta)
3.มีเนื้องอกในโพรงมดลูก => การลอก
ตัวของรกล่าช้า : เศษรกค้าง =>ล้วงรก
อาการและอาการแสดง
1.มีเลือดออกทางช่องคลอดมากขึ้น / หลายวัน
2.มีลักษณะของน้ำคาวปลา (lochia) ที่ผิดปกติ : ลักษณะของเลือดออกเป็นลิ่มๆ ภายหลัง 10 วันหลังคลอด
3.มดลูกนุ่ม หดรักตัวไม่ดี
4.มดลูกไม่เข้าอู่ตามปกติ : การลดระดับของมดลูกล่าช้า
5.มีการติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
การรักษาภาวะตกเลือดระยะหลัง :
ตามสาเหตุ
การติดเชื้อภายในโพรงมดลูก : ให้ยาปฏิชีวนะ (antibiotics) - Ampicillin 2 gm.(V) q 6 hrs.ร่วมกับ Gentamycin 5 mg./BW 1 kg.(V) q 24 hrs. ร่วมกับ Metronidazole 500 mg.(V)
q 8 hrs.Clindamycin 600 mg.(V) q 6 hrs.ร่วมกับ Gentamycin 5 mg./BW 1 kg. (V) q 24 hrs.
มีเศษรกค้างภายในโพรงมดลูก
: ให้ยาเพื่อให้มดลูกหดรัดตัว
:ให้ยาฆ่าเชื้อเพื่อป้องกันการติดเชื้อในโพรงมดลูก
:หาก ultrasound พบมีก้อนเลือด / ให้ยาแล้วไม่ดีขึ้น => ขูดหรือดูดเลือดออกจากโพรงมดลูก
:ขูดมดลูก
มีแขนงของเส้นเลือดโป่งพอง ภายในโพรงมดลูก : เป็นภาวะที่พบได้น้อยมากแต่อันตรายมาก เนื่องจากหากแขนงเส้นเลือดแตกจะทำให้เลือดออกไม่หยุดและเสียชีวิต
ทำ CT-angiogram และจี้หยุดเลือดออกที่เส้นเลือด (Uterine artery Embolization)
การพยาบาลการตกเลือดระยะหลัง
1.รายที่มีเศษรก/ก้อนเลือดค้างอยู่ในโพรงมดลู => Oxytocin/ขูดมดลูก
2.รายที่มีการติเชื้อในโพรงมดลูก => Methergin ช่วยให้มดลูกหดรัดตัวดี +antibiotics
3.รายที่มีเลือดออกจากแผลในช่องคลอด => ทำความสะอาดและเย็บแผลให้เลือดหยุด ถ้าเลือดไม่หยุด => กดไว้/ ใส่ vaginal packing + antibiotics
ภาวะแทรกซ้อนจากการตกเลือด
หลังคลอด
shock จากการเสียเลือด (Hemorrhagic
S.)
ติดเชื้อหลังคลอด (Peurperal infection)
3.อันตรายจากการรักษา (Hazard of
therapy)
เนื้อเยื่อของต่อมใต้สมองส่วนหน้าตาย (Sheehan’s syndrome)
เลือดคั่งบริเวณฝีเย็บ (Hematoma)
คือ ภาวะที่มีการฉีกขาดของหลอดเลือดดำบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
สาเหตุ / ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิด
การคลอดเร็ว (precipitous labor)
การควบคุมการเบ่งคลอดไม่ดี
ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
การคลอดที่ใช้เครื่องมือ ทำให้ฝีเย็บบาดเจ็บมาก บอกช้ำมาก
ครรภ์แรก
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
มีเส้นเลือดขอดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
มีความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
ทารกมีขนาดใหญ่
อาการ / อาการแสดง
ฝีเย็บบวมมาก เป็นก้อน สีม่วงคล้ำ แข็ง ตึง
เจ็บปวดฝี เย็บอย่างรุนแรง (ปวดหน่วง)
ถ้ามีเลือดออกใต้ผิวหนังที่ฝีเย็บมากกว่า 200 ลบ.ซม. ถือว่า ตกเลืด
การป้องกัน
ทำคลอดด้วยเทคนิคที่นุ่มนวล ถูกต้อง
หลังรกคลอดให้คลึงมดลูก / ไล่ก้อนเลือดออกจากโพรงมดลูกอย่างนุ่มนวลอย่างถูกวิธี
ตัดฝีเย็บอย่างเหมาะสม / เย็บซ่อมแซมบริเวณที่มีการฉีกขาดอย่างถูกวิธี
การรักษา
ถ้าก้อนเลือดที่คั่งบริเวณฝีเย็บมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 ซม. ไม่จำเป็นต้องผ่าตัด ใช้การประคบเย็น เพื่อหยุดการไหลเวียนของเลือด
ถ้าเสียเลือดจำนวนมาก ให้เลือด
ถ้าก้อนเลือดที่คั่งมีขนาดใหญ่ ผ่าตัดเปิดแผลเอาก้อนเลือดที่คั่งอยู่ใต้เยื่อบุออก และเย็บผูกหลอดเลือดเพื่อให้เลือดหยุด
ถ้าก้อนเลือดมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง >5 ซม. =>Retained foley’s cath (อาจมี drain จากแผล/vaginal packing เพื่อช่วยให้เลือดหยุด ต้องเอา gauze ออกายใน 6-8 ซม.)
การพยาบาล
ให้นอนพักบนเตียง ลดการกระทบกระเทือนฝีเย็บ เป็นการหยุดเลือด
ประคบด้วยน้ำเย็บ : ให้การไหลเวียนช้าลง
ถ้าบวมมาก / ปวดรุนแรง => รายงานแพทย์
การติดเชื้อหลังคลอด (Puerperal infection, postpartum infection, Puerperal fever, Childbed fever) คือ การติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์ เกิดขึ้นภายใน 28 วัน หลังแท้ง / หลังคลอด หรือ ใน 6 สป.แรกของการคลอด
เชื้อที่พบบ่อยในการติดเชื้อหลังคลอด
1.Hemolytic streptococcus gr.A พบในจมูก ลำคอ รุนแรงมาก => septicemia การรักษา => antibiotics
Staphylococcus การอักเสบเฉพาะที่ : เป็นฝี อาจเข้ากระแสเลือดและเป็นอันตรายมาก
Clostidium welchii อาจพบในช่องคลอด เนื้อเยื่อที่ชอกช้ำ เนื้อตาย => septicemia เม็ดเลือดแดงแตก เกิดภาวะเลือดจาง ไม่มีปัสสาวะ
Escherichia coli มักเกิดการติดเชื้อในมดลูก : น้ำคาวปลาเหม็น อาจเกิด septicemia
Chlamydia
ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อหลังคลอด
มีประวัติการติดเชื้อระบบอวัยวะสืบพันธุ์
มีปัจจัยเสี่ยงในระยะตั้งครรภ์
มีปัจจัยเสี่ยงในระยะคลอด
ระยะหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูงกว่า 38 องศา C (100.4
องศา F) ติดต่อกันอย่างน้อย 2 วัน
รู้สึกไม่สุขสบาย ( malaise)
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
ปวดท้องน้อย กดเจ็บบริเวณท้องน้อย
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
ท้องอืด ลำไส้อุดตัน
7.ปวดบริเวณอุ้งเชิงกราน
ใจสั่น
ช็อค ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง
มีอาการแสดงของการติดเชื้อตามอวัยวะที่มีการอักเสบ
การพยาบาล
ทันทีหลังคลอด เปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน สิ่งที่ปนเปื้อนเลือด ปัสสาวะอุจจาระ
แยกมารดาหลังคลอดจากผู้ป่วยอื่นที่มีการติดเชื้อ
เครื่องมือที่ใช้ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกต้องสะอาดปราศจากเชื้อ
ไม่ควรใช้ของร่วมกับผู้อื่น : หม้อนอน เครื่องมือทำความสะอาด
กระตุ้นให้มารดาหลังคลอดล้างมือบ่อยๆ
กระตุ้นให้มารดาหลังคลอดดื่มน้ำมากๆ รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง
รักษาสภาพแวดล้อมให้สะอาด แห้งอากาศเทดี
บุคลากรในทีมสุขภาพต้องระมัดระวังการแพร่เชื้อ
การรักษา
หลักสำคัญของการรักษา : ให้ antibiotic
2.ให้ IV fluid
3.ให้ antibiotic ตามผลการเพาะเชื้อจากเลือด
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก : ให้น้ำคาวปลาไหลสะดวกมดลูกเข้าอู่เร็ว
5.ให้ยาแก้ปวด : after pain/ปวดท้องน้อย
dehydrate => IV/O + อาหาร