Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
L (อาการแรกรับ : (20/04/2565) ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี สัญญาณชีพปกติ อุณหภูมิ…
L
อาการแรกรับ : (20/04/2565) ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี สัญญาณชีพปกติ อุณหภูมิ 36.5 องศาเซลเซียส ชีพจร 60 ครั้ง/นาที หายใจ 18 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 140/78 mmHg O2 set 98% แผลผ่าตัดไม่มีเลือดซึม ผู้ป่วยคาสายสวนปัสสาวะ คาท่อระบายสารคัดหลั่งอยู่ในระบบปิด 1 ขวด
-
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 3. วิตกกังวลเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถและการฝึกเดินเนื่องจากผู้ป่วยขาดความรู้และทักษะในการฟื้นฟูสมรรถภาพของกล้ามเนื้อภายหลังการผ่าตัดและการใช้อุปกรณ์ช่วยพยุงเดิน
ข้อมูลสนับสนุน
OD:
- เป็นการผ่าตัดครั้งแรก ผู้ป่วยไม่ทราบวิธีการปฏิบัติตัวเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพของกล้ามเนื้อและการใช้อุปกรณ์ช่วยพยุงเดินภายหลังการผ่าตัด
- ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลลดลง
ผลลัพธ์ทางการพยาบาล : ผู้ป่วยมีความรู้และทักษะในการฟื้นฟูสมรรถภาพของกล้ามเนื้อภายหลังการผ่าตัดและการใช้อุปกรณ์ช่วยพยุงเดิน
กิจกรรมทางการพยาบาล
- .ภายหลังกลับจากห้องผ่าตัดพยาบาลควรแนะนำและดูแลช่วยเหลือจัดให้ผู้ป่วยนอนหงายยกขาข้างที่ใส่ compression dressing หรือ Jones' bandage ให้สูงตลอดเวลา โดยใช้หมอนรองอย่างน้อย 1-2 ใบ ในลักษณะขาเหยียดตร
- สอนให้ผู้ป่วยได้ฝึกปฏิบัติในการบริหารกล้ามเนื้อต้นขา (quadriceps exercise) การกระดกข้อเท้าขึ้นลงบ่อยๆ (ankle pumping exercise)
- หลังจากที่แพทย์นำ compression dressing หรือ Jones' bandage ออกน 2-3วหลังผ่าตัด ต้องคำแนะนำดังนี้
- นอนเหยียดขา ใช้ผ้าขนหนูรองบริเวณข้อเท่า
- ให้ผู้ป่วยฝึกงอเข่าข้างที่ทำผ่าตัดด้วยตนเอง การนั่งห้อยขาข้างเตียง โดยใช้ขาข้างที่ไม่ได้รับการผ่าตัด กดเข่าข้างที่ทำผ่าตัดลงช้าๆ กระทั่งสามารถงอได้ชิดขอบเตียง หรือสามารถงอได้ 90 องศา
- แนะนำให้ประคบความเย็น (cold compression) บริเวณแผลผ่าตัดและรอบ ๆข้อหลังการผ่าตัดนาน 20 นาที ทุก 1 1 - 2 ชั่วโมง เพื่อลคอาการปวดและบวม
- สังเกตอาการบวมแดง ร้อน รอบเข่า ถ้ามีอาการดังกล่าว ควรประคบด้วยความเย็นและหยุดพักการบริหาร หรือหยุดพักข้อ
- แนะนำการใช้ walker ให้ปฏิบัติดังนี้มือ 2 ข้างยกเครื่องช่วยพยุง 4 ขา และวางเครื่องช่วยพยุง 4 ขา ห่าง ออกไปยังทิศทางที่จะเดินไปข้างหน้า ประมาณ 2 - 3 นิ้ว โดยเกาะเครื่องช่วยพยุง 4 ขา ให้แน่นด้วยมือทั้ง 2 ข้าง และควรตรวจสอบให้มั่นใจว่าขาทั้ง 4 ของเครื่องช่วย พยุงแนบกับพื้นทุกครั้ง หลังจากนั้นโน้มตัวไปข้างหน้า และปล่อยให้เครื่องช่วยพยุง 4 ขา รับน้ำหนักตัวของผู้ป่วย ก้าวเท้าข้างที่ทำการผ่าตัดไปข้างหน้าอย่าง ระมัดระวัง (ให้ลงน้ำหนักขาข้างที่ไม่ได้ทำผ่าตัด) และดูแลอย่าให้เท้าของผู้ป่วยพันกับขาของเครื่องช่วยพยุงหรือเท้าเหยียบกับขอบกางเกงหรือสายระบายต่างๆ เงย หน้าและมองไปข้างหน้าหลังจากนั้นก้าวขาข้างที่ไม่ไม่ได้ทำการผ่าตัดตามไป
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล : 4. ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก spinal block ภายหลังการผ่าตัด (คลื่นไส้ อาเจียน)
ข้อมูลสนับสนุน
OD :
- มีอาการคลื่นไส้/อาเจียน
1.Sedation score = 0 คะแนน
เกณฑ์การประเมิน
2.Vital sign อยู่ในค่าปกติ เช่น
T = 36.5-37.4 OC
P = 60-100 bpm.
R = 16-20 bpm.
BP = 90-120/60-80 mmHs
3.ไม่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
ผลลัพธ์ทางการพยาบาล ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก
กิจกรรมการพบาล
- .ตรวจสอบระดับความรู้สึกตัวหรือประเมินความง่วงซึมของผู้ป่วย (sedation score) ด้วยการสอบถามชื่อ นามสกุล ของผู้ป่วย และหรือการสอบถามวัน เวลา และสถานที่ เป็นต้น
- ดูแลจัดท่านอนให้เหมาะสมกับสภาวะผู้ป่วยภายหลังได้รับยาระงับความรู้สึกแบบ spinal block โดยจัดให้ผู้ป่วยนอนราบ หนุนหมอนเตี้ย 1 ใบ ห้ามลุกนั่ง อย่างน้อย 6 ชั่วโมง หรือจนกว่าจะรู้สติ
- ตรวจวัดสัญญาณชีพ (vital signs) ทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง และทุกๆ ชั่วโมง กระทั่งสัญญาณชีพ เป็นปกติจนครบ 24 ชั่วโมงแรกภายหลังการผ่าตัดหลังจากนั้นตรวจวัด สัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง จนครบ 72 ชั่วโมงภายหลังการผ่าตัด และต้องดูเปรียบเทียบกับค่าเดิมของผู้ป่วยก่อนการผ่าตัดด้วย เช่น ผู้ป่วยที่มีภาวะความดันเลือดสูง หรือผู้ป่วยที่มีภาวะความดันเลือดต่ำ
- กระตุ้นให้ผู้ป่วยปฏิบัติตามคำแนะนำ
- กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆ และให้ไออย่างถูกวิธีเพื่อช่วยระบายเสมหะหรือสิ่งคัดหลังที่คั่งค้างในปอดออกให้หมด
- เมื่อมีอาการคลื่นไส้หรืออาเจียน ควรตะแคงตัวหรือหันศีร ษะไปด้านใดด้านหนึ่ง และ จัดเตรียมชามรูปไตไ ว้ให้พร้อม เพื่อรองรับน้ำลายหรือเสมหะของผู้ป่วย รวมทั้งดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
Focus Group TKA
Anatomy ข้อเข่า
1.ผิวของกระดูกต้นขา (thigh bone หรือ femur)
ส่วนผิวบนข้อเข่า รูปร่างเป็นโหนก 2 โหนก บานออก โค้งมน มีผิวสัมผัสกับหมอนรองกระดูก กระดูกหน้าแข้งและกระดูกสะบ้า
2.ผิวข้อกระดูดหน้าแข้ง (shin bone หรือ tibia)
เป็นผิวข้อต่อส่วนล่างของข้อเข่า มีรูปร่าง แบน บานออกเป็นแป้นสำหรับรับแรงกดจากด้านบน มีผิวสัมผัสกับหมอนรองกระดูกข้อเข่าและกระดูกต้นขา
3.กระดูกสะบ้า (patella หรือ knee)
ผิวข้อด้านใน เป็นกระดํกลักษณะค่อนข้างกลมเมื่อมองจากด้านหน้า รูปร่างรเมื่อมองจากด้านข้าง ทำหน้าที่คล้ายคานงัด เพื่อให้เส้นเอ็นของกล้ามเนื้อเหยียดขาได้ดี ผิวข้อต้องของกระดูกสะบ้ามีผิวสัมผัสกับกระดูกต้นขา
4.ส่วนประกอบอื่นๆ
4.1 หมอนรองกระดูก (meniscus)
ลักษณะเป็น วงแหวนคล้ายกระดูกอ่อนแต่นุ่มกว่าแบ่งเป็น 2 ซีก หมอนรองกระดูกซีกใน (medial meniscus) และหมือนรองกระดูกซีกนอก (lateral meniscus) ทำหน้าที่เป็นตัวถ่ายน้ำหนัก กันการกระแทกระหว่างกระดูกและช่วยการเคลื่อนไหวเมื่อมีการเคลื่อนไหว
4.2 เอ็นยึดข้อ (ligaments) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
- เอ็นไขว้ภายใน -> เส้นหน้า Anterior cruciate ligament -> เส้นหลังPosterior cruciate ligament ทำหน้าที่ตรึงให้ข้อเข่าเกิดความมั่นคงในทิศทางหน้า-หลัง
2.เอ็นด้านข้างของข้อ -> เส้นใน (meidal collateral ligament ) -> เส้นนอก lateral collateral ligament ทำหน้าที่ตรึงให้ข้อเข่าเกิดความมั่นคงใรทิศทางข้างใน-ข้างนอก
5.ผังผืดหุ้มข้อ (joint capsule)
ทำให้ข้อเป็นโครงสร้างที่ปกปีดไม่มีสิ่งแปลกปลอมเข้าไปภายใน และทำให้ข้อเข่าเป็นเสมือนถุงที่อยู่ในระบบปิด ทำให้น้ำล่อเลี้ยงข้อกระจายไปทั่วข้อได้ดี
6. เยื่อหุ้มข้อ (synovium)
ทำหน้าที่เคลือบพังผืดหุ้มข้อ และสร้างน้ำหล่อเลี้ยงข้อ และเป็นตัวการสำคัญในการตอบสนองของร่างกายต่อการอักเสบในข้อ ซึ่งมักรุนแรงในกรณีที่เกิดโรคไขข้ออักเสบขึ้น
7. น้ำหล่อเลี้ยงข้อ (synovial fluid) เป็นของเหลวที่มีลักษณะหนืดคล้ายน้ำมันเครื่องยนต์ ทำ
หน้าหล่อเลี้ยงข้อให้การเคลื่อนไหวภายในข้อราบรื่น โดยต้องมีปริมาณที่ไม่มากเกินไป และน้ำหล่อที่ปกติต้อง เหลืองใส ไม่ขุ่น
พยาธิสภาพ
ข้อเข่า
ความบกพร่องของโรคข้อเสื่อมปฐมภูมิและโรคข้อเสื่อมทุติยภูมิ คือ
การสูญเสียผิวหน้าของกระดูกในข้อต่อ
อาการระยะแรก คือ
ผิวหน้าของกระดูกในข้อจะสูญเสียความเป็นเงามัน ทำให้เปลื่ยนเป็นสีเหลืองหรทอน้ำตาลเทา
อาการรุนแรงมากขึ้นกระดูกอ่อนของข้อ (Articular cartilage) จะแตกและหลุดออกมาเป็นแผ่นๆ จนทำให้ผิวชั้นในกระดูกที่อยู่ลึกลงไปเกิดเป็นร่องในแนวยาว กระดูกอ่อนที่วางอยู่บนผิว จะบางลงและอาจหายไปในบางบริเวณของหน้ากระดูก ทำให้กระดูก subchondral bone ไม่มีกระดูกอ่อน บางครั้งอาจมีถุงน้ำ (Cysts) เกิดขึ้นภายใน subchondral bone และเชื่อมต่อกับร่องใสแนวยาวที่อยู่บนผิวหน้ากระดูก ขณะที่ผิวหน้ากร่อน ร่างกายจะมีการสร้างกระดูกมาแทนที่มากกว่าปกติ ทำให้เกิดปุ่มงอกกระดูก (osteophyte) ที่ผิวหน้ากระดูกมีผลทำให้ผิวหน้าของกระดูกมีรูปร่างผิดปกติ ปุ่มงอกกระดูกจะมีขนาดใหญ่ขึ้นๆ จนกระทั่งแตกออกเป็นชิ้นเล็กๆ และแทรกเข้าไปอยู่ใน synovial cavity ถ้าขิ้นส่วนของปุ่มงอกกระดูกไป ทำให้เกิดความระคายเคืองต่อเยื่อไขข้อ จะทำให้เกิดข้ออักเสบ (synovitis) จะทำให้ข้อบวม เยื้อหุ้มข้อจะหนาขึ้นและไปยีดติดกับกระดูกที่ผิดรูปที่อยู่ภายในข้อซึ่งอาจจะมีผลทำให้จำกัดการเคลื่อนไหวของข้อนั้นๆ ผิวหน้ากระดูกอาจสูญหายเพราะเมทริกซ์ของกระดูกอ่อน (Cartilage matrix) ได้แก่ สารนำพวกโพรทีโอไกลเเคน (Proteoglycans), ไกลโคอะมิโนไกลแคน (glycominoglycans) และคอลลาเจนถูกทำลายด้วยเอนไซม์จนเป็นชิ้นเล็กๆ สามารถเคลื่อนที่ผ่านเข้าสู่เซลล์กระดูกอ่อน (Chondrocytes) และถูกย่อยสลาบด้วยเอนไซม์ภายในเซลล์นั้น การสูญเสียสารโพรธีโอแคนบริเวณผิวหน้าของกระดูกเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดฌนรข้อเสื่อม
การรักษา
ตามทฤษฎี
1.การรักษาโดยไม่ใช้ยา
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนิดชีวิต
- การออกกำลังกาย
- การรับประทานอาหารและน้ำหนักตัวที่เหมาะสม
- การรักษาด้วยยา
จุดประสงค์หลักของการใช้ยาเพื่อบรรเทาอาการปวด ได้แก่ ยาแก้ปวดที่ไม่มีฤทธ์ิลดการอักเสบ ยาต้านการอักเสบ ชนิดไม่ไช่สเตียรอยด์(NSAID) การใช้ยาทาเฉพาะที่การรักษาโดยการฉีดยาเข้าช่องข้อและการใช้ยาเพื่อปรับเปลี่ยนการดกเนินของโรคข้อเสื่อม
- การรักษาโดยการผ่าตัด
- การผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเทียมเฉพาะฝั่ง (Unicompartmental Knee Arthroplasty)
- การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียมแบบทั้งหมด (Total Knee Arthroplasty)
-
สาเหตุ
โรคข้อเข่าเสื่อม
ตามทฤษฎี
- ภาวะข้อเข่าอักเสบ เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น โรครูมาตอย การติดเชื้อในข้าเข้า เป็นต้น มีการอักเสบเรื้อรังจะทำให้เยื่อหุ้มข้อหนาตัวขึ้นและสร้างน้ำหล่อเลี้ยงข้อมากเกินไป ทำให้เข่ามีภาวะบวมแดงและทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดเข่าอย่างรุนแรงได้ หากปล่อยให้ภาวะอักเสบเรื้อรัง กระดูกเข่าอาจถูกทำลายเสียหาย
- ภาวะข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis) ส่วนใหญ่พบตั้งแต่ผู้มีอายุ 50 ปีขึ้นไป เนื่องจากผิวกระดูกอ่อนและหมอนรองกระดูกเสื่อมตามวัย
- ภาวะข้อเข่าเสื่อมที่เกิดจากผู้ป่วยเคยประสบอุบัติเหตุอย่างรุนแรงจนกระดูกเข่าแตกหรือร้าวหรือเคยผ่าตัดมาก่อน
- มีน้ำหนักตัวเกิน ทำให้ข้อเข่าทำงานหนักตลอดเวลา
-
การวินิจฉัย
ตามทฤษฎี
- ซักประวัติและตรวจสุขภาพเบื้องต้น โดยเฉพาะอาการปวด ลักษณะเข่าที่ผิดปกติ ความสามารถในการเดินและการใช้งานของเข่า
- เอกซเรย์ เพื่อดูสภาพความเสียหายของเข่า
- MRI ดูรายละเอียดของกระดูกอ่อน และเส้นเอ็นภายในเข่า รวมถึงกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อรอบๆ กระดูกเข่า n
ตามกรณีศึกษา
ซักประวัติและตรวจสุขภาพเบื้องต้นจากผู้ป่วย ผู้ป่วยมาโรงพยาบาลด้วยปวดเข่าข้างซ้าย เดินลำบาก 2 ปีก่อน แพทย์จึงวินิจฉัยเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม
อาการและอาการแสดง
ตามทฤษฎี
1.อาการปวด แบบตื้อๆ ทั่วๆ ไปบริเวณข้อ ไม่สามารถระบุจำแหน่งปวดได้ชัดเจน และมักปวดเรื้อรัง ปวดตอนเช้า หรืออาการปวดจะมากขึ้นเมื้อมีการใช้งาน
2.ข้อฝืด จะมีการฝืดของข้อในช่วงเช้า และหลังพักข้อนานๆ แต่มักไม่เกิน 30 นาที อาพบอาการฝืดที่เกิดขึ้นช่วงคราวในท่างอหรือท่าเหยีด
3.การเคลื่อนไหวของข้อลดลง จะปวดเมื่อมีการเคลื่อนไหวข้อหรือการลงน้ำหนักบนข้อนั้นๆ
4.มีเสียงดังภายในข้อหรือเสียงครืดคลาดภายในข้อขณะะเคลื่อนไหว ข้อเข่าเสื่อมจะมีเสียงดังกรอบแกรบ ในข้อเข่าขณะเคลื่อนไหว
5.ข้อบวมและผิดรูป
ตามกรณีศึกษา
มาโรงพยาบาลด้วยอาการปวดเข่าข้างซ้าย เดินลำบาก 2 ปีก่อนมาโรงพยาบาล และอาการของเมื่อวันที่ 18/4/65 มีขาโก่งข้างซ้าย เดินโดยใช้ไม้เท้า
-
การผ่าตัด
การผ่านัดใส่ข้อเข่าเทียม (Total knee arthroplasty : TKA)
เป็นการผ่าตีดเอาผิวข้อส่วนบนทั้งหมด และผิวข้อส่วนล่างทั้งหมดออก แล้วแทนที่ด้วยข้อเทียม เรียกว่า total knee arthroplasty : TKA มักทำในผู้ป่วยที่มีข้อเข่าเสื่อม (osteoarthritis) ที่มีการเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อนข้อต่อ
การฟื้นฟูหลังผ่าตัด
-
- 3 วัน หลังผ่าตัด ออกกำลังกล้ามเนื้อต้นขา (Quadriceps)
- 4 วัน หลังผ่าตัด เอาเครื่องช่วยพยุงขาออกแต่ขายังต้องอยู่ในท่เหยียด โดยออกกำลังกล้ามเนื้อต้นขาต่อทำ Sling - assisted straight leg raise โดยการใส่ sling เข้าใต้เข่า แล้วนำมาต่อกับสปริง เริ่มการบริหารโดยให้ผู้ป่วยยกปลายขาขึ้นสูง พักไว้สักครู่ จนรู้สึกตึงบริเวณกล้ามเนื้อต้นขาส่วนหน้า (Quadiceps) บริหารกล้ามเนื้อใน ท่างอเข่า (Sing assisted Knee fexion) และปัจจุบันมีเครื่องช่วยบริหารข้อเข่าอย่างต่อเนื่อง เรียกว่า Continuous Passive Movement (CPM) ซึ่งจะช่วยบริหารข้อเข่าและป้องกันข้อติดได้ดี
- 5 วัน หลังผ่าตัด ออกกำลังกล้ามเนื้อต้นขา ท่างอเข่า บริหารเหยียดข้อเข่าในท่านั่ง (siting acive kneeextension) โดยให้ผู้ป่วยนั่งห้อยขาข้างเตียง เอาม้วนผ้าเล็ก ๆ รองใต้เข่าขาข้างที่ทำผ่าตัดแล้วยกขาเหยียดขึ้นให้ตรงมากที่สุดแล้วค่อย ๆวางขาลง
• บริหารกล้ามเนื้อต้นขาในท่นอน โดยใช้หมอนเล็กๆ สอดใต้เข่าให้เข่างอประมาณ 30-40 องศา แล้วยก ยกปลายเท้าขึ้น จนขาเหยียดตรง
•เริ่มฝึกหัดการเดินด้วยการใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน ถ้าผ่าตัดโดยใช้ซีเมนต์กระดูก ให้ลงน้ำหนักเพียงบางส่วน (partial weight bearing) แต่ถ้าเป็นการผ่าตัดโดยการยึดตรึงทางชีวภาพให้ลงน้ำหนักแต่เพียงสัมผัสพื้น (none weight bearing)
• ประมาณสัปดาห์ที่ 2 หรือเมื่องอเข่าได้ 90 องศา ให้งอเข่าในท่านอนคว่ำหรือท่าต้านการกางขา โดยนอนตะแคงข้างไม่ได้ทำผ่าตัด แล้วยกขาข้างผ่าตัดสูง ข้อเข่าต้องเหยียดตรง นับ 1-5 วางขาลง
• สำหรับการลงน้ำหนักเต็มที่ (Full weight bearing) นั้น ขึ้นอยู่กับอายุ น้ำหนัก และความแข็งแรงของขาอีกข้างหนึ่ง โดยพิจารณาตามความเหมาะสมของแพทย์ในระยะ Follow-up
Procedure
-
การพัน Elastic Bandage
การพันผ้าแบบรูปเลขแปด (figure-eight turns)
เป็นการพันผ้าไขว้กันไปมาคล้ายเลขแปด
เหมาะสำหรับอวัยวะส่วนที่มีการเคลื่อนไหว เช่น ข้อศอก ข้อเข่า ข้อเท้า เป็นต้น เพราะช่วยให้เหยียดและงอข้อได้สะดวก
- ขึ้นต้นด้วยการพัน circular turns 2 รอบ
- ดึงผ้าพันเฉียงขึ้นแล้วพันย้อนกลับมาพันเฉียงลงตัดกับรอยเดิม พันทับ 2 ใน 3 ขอ ของผ้าพัน การพันตัดกัน ลักษณะที่ปรากฏเหมือนภาพเลข 8
-
กลุ่มยา
Macain หรือ Bupivacaine ๆเป็นยาชาที่ จับกับส่วนภายในเซลล์ของช่องโซเดียมที่มีรั้วรอบขอบชิดด้วยแรงดันไฟฟ้า และสกัดกั้นการไหลเข้าของโซเดียมเข้าสู่เซลล์ประสาท ซึ่งป้องกันการสลับขั้ว หากปราศจากการสลับขั้ว จะไม่มีการเริ่มต้นหรือการนำสัญญาณความเจ็บปวดเกิดขึ้นได้
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา
มีรอยช้ำ มีเลือดออก หรือเจ็บปวดเล็กน้อย ในบริเวณที่ถูกฉีดยา รู้สึกปวด และรู้สึกเจ็บแปลบๆ บริเวณที่ทำการรักษา
วิงเวียน ปวดหัว อ่อนเพลีย สายตาพร่ามัว กล้ามเนื้อกระตุก
-
Ceftriaxone ยาปฏิชีวนะกลุ่มเซฟาโลสปอริน มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในร่างกาย
กลไกการออกฤทธิ์
เซฟาโซลินจับกับโปรตีน penicillin-binding protein ซึ่งยับยั้งกระบวนแสน transpeptidation ในขั้นสุดท้าย ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการ การสังเคราะห์และยังยั้งการประกอบโครงสร้างผนังเซลล์ นำไปสู่การตายของแบคทีเรีย
อาการข้างเคียง ลมพิษ ผื่นคัน บวม แดง มีตุ่มพุพอง ท้องเสียถ่ายเป็นน้ำ หรือถ่ายโดยมีเลือดปน ปวดท้อง โดยเฉพาะปวดท้องบริเวณด้านขวาบน และมีไข้ระหว่างการรักษา หายใจ กลืนอาหารลำบาก
-
Opioid เป็นกลุ่มยา ยาที่ใช้ระงับอาการปวดระดับปานกลางไปถึงรุนแรง ทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง เช่น อาการปวดจากการผ่าตัดหรือจากโรคมะเร็ง ระงับอาการไอ แก้ท้องเสีย และยาบางตัวยังช่วยแก้อาการติดยากลุ่มโอปิออยด์ด้วยกันเองได้ด้วย โดยจะมีฤทธิ์ช่วยลดสัญญาณความเจ็บปวดที่ส่งมาจากระบบประสาทและปฏิกิริยาของสมองต่อความเจ็บปวด ทำให้อาการปวดทุเลาลง อีกยังช่วยให้รู้สึกผ่อนคลาย เคลิบเคลิ้ม มีอาการเมา และอาจส่งผลให้ผู้ป่วยเสพติดการใช้ยาได้ เช่น Codeine Fentanyl Methadone Morphine
-
-
-
-
-
-
ส่วนที่ 1: ข้อมูลทั่วไป
ชื่อผู้รับบริการ ผู้ป่วยหญิงไทยมุสลิม อายุ 75 ปี
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติไทย ศาสนา อิสลาม
ระดับการศึกษา ไม่พบข้อมูล สถานภาพสมรส สมรส
การวินิจฉัย โรคข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis)
การผ่าตัด ผ่าตัดเปลื่ยนข้อเข่าเทียมทั้งหมด (Total Knee Arthroplasty)
วันที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล วันที่ 18 เมษายน 2565
จำนวนครั้งที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล 1 ครั้ง
วันที่รับไว้ในความดูแลของนักศึกษา วันที่ 19 เมษายน 2565
ส่วนที่ 3 : การรักษา
3.1 การรักษาปัจจุบัน
- 5% D/N/2 1000 ml IV rate 80 cc/hr (ก่อนผ่าตัด)
- 0.9% Nss 1000 ml และ Ringer lactate Solution 800 ml IV rate 80 cc/hr. (หลังผ่าตัด)
- Retain foley’s cath
- Plasil 10 mg IV push
- Dynastat 40 mg IV a 12 hr
- Paracetamal 325 mg 2 รับประทานทางปาก 2 tab q 6 hr.
- 0.1% Marciano ผสม morphine 0.02 mg/ml ทางล่องเนื้อเยื่อดูรา rate 5 ml/hr
- Cefazolin 1 q IV q 6 hr.