Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แบบแผนสุขภาพ (Functional health patterns) - Coggle Diagram
แบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ความหมายของแบบแผนสุขภาพ
แบบแผน
พฤติกรรมของบุคคลต่อเนื่องกันในช่วงเวลาหนึ่ง
แบบแผนสุขภาพ
พฤติกรรมด้านสุขภาพบุคคลซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่ง และมีผลต่อสุขภาพ
กรอบแนวคิดเพื่อสุขภาพ
ประเมินพฤติกรรมทั้งภายนอกและภายใน
มนุษย์จะมีภาวะสุขภาพดีหรือไม่ดีขึ้นกับความปกติ (function) หรือผิดปกติ (dysfunction) ของแบบแผนสุขภาพ
•แบบแผนสุขภาพใช้เป็นแนวคิดในการประเมินภาวะสุขภาพของบุคคล ครอบครัวหรือชุมชน
(ทั้งในภาวะปกติและเจ็บป่วย)
มี 11 แบบแผน
•พัฒนาโดย มาร์จอรีย์ กอร์ดอน (Majory Gordon)
ศาสตราจารย์ ทางการพยาบาลที่วิทยาลัยบอสตัน (Boston College of Nursing) ประเทศอเมริกา
11 แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
6)แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้
(Cognitive-perceptual Pattern)
7)แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
(Self perception-Self concept Pattern)
5)แบบแผนการนอนหลับพักผ่อน
(Sleep-Exercise Pattern)
8)แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ
(Role-relationship Pattern)
2)แบบแผนด้านโภชนาการและการเผาผลาญอาหาร
(Nutrltlonal-Metabolism Patterns)
9)แบบแผนเพศสัมพันธ์และการเจริญพันธ์
(Sexuality -reproductive Pattern )
4)แบบแผนด้านกิจกรรมและการออกกำลังกาย
(Activity-Exercise Patterns)
10)แบบแผนการเผชิญความเครียดและความทนต่อความเครียด (Coping-stress tolerance Pattern)
3)แบบแผนการขับถ่ายของเสีย
(Elimination Patterns)
11)แบบแผนค่านิยมและความเชื่อ
(Value-belief Pattern)
1)แบบแผนการรับรู้สุขภาพและการดูแลสุขภาพ
(Health Perception-Health Management Patterns)
องค์ประกอบของแบบแผนสุขภาพแต่ละแบบแผน
2.พฤติกรรมภายนอก
คือ การกระทำที่แสดงออกให้สังเกตเห็นได้ รับรู้ได้ หรือใช้เครื่องมือตรวจสอบได้ เช่น
•พฤติกรรมที่ไม่ใช่คำพูด เช่น
กริยา ท่าทาง การเดิน หัวเราะ ร้องไห้ ฯลฯ
•การตรวจโดยใช้เครื่องมือทางการแพทย์ เช่น
การตรวจวัดสัญญาณชีพ เอกซเรย์ เป็นต้น
•พฤติกรรมที่เป็นคำพูด
•การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น
การตรวจเลือดตรวจสิ่งคัดหลั่งต่างๆ
3.ปัจจัยส่งเสริมพฤติกรรมและอุปสรรค
•พฤติกรรมภายใน เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมภายนอก เช่น
ความยินดีและพึงพอใจกับสิ่งที่ปรารถนา ก็จะแสดงออกมาเป็นพฤติกรรมภายนอกให้เห็นได้จาก สีหน้า แววตา กิริยา ท่าทาง ทางร่างกาย เป็นต้น
•พฤติกรรมภายนอก และพฤติกรรมภายในจะมีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกัน
1.พฤติกรรมภายใน
คือ พฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าหรือใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ตรวจสอบได้โดยตรง
•การคิด ความรู้ของบุคคลเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ
•เจตคติ ซึ่งประกอบด้วยความรู้สึก คิดเห็น ค่านิยมของบุคคล
•การทำงานทางกาย หรือทางชีวภาพในระบบต่างๆ เช่น
ระบบหายใจ หัวใจ และหลอดเลือด
กระบวนการพยาบาล (Nursing Process)
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การจัดระบบข้อมูล
การบันทึกข้อมูล
•ข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
•ข้อมูลปรนัย (Objective data)
•เป็นการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาจัดให้เป็นหมวดหมู่ ตามกรอบแนวคิดหรือทฤษฎีทางการพยาบาล
•ได้จากการซักประวัติ ตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจพิเศษต่างๆ
การรวบรวมข้อมูล
วิธีการได้มาซึ่งข้อมูล
•ข้อมูลอัตนัย (Subjective data) คือ การซักประวัติจากผู้รับบริการหรือญาติ
(ในกรณีที่ผู้รับบริการไม่สามารถให้ข้อมูลได้)
•ข้อมูลปรนัย (Objective data) คือ ข้อมูลได้จากการสังเกต/ตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
และตรวจพิเศษ
ตัวอยข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
ผู้รับบชอบกินข้าวเหนียววันละ 3 มื้อ ชอบกินอาหารรสจัดโดยเฉพาะส้มตำ
ปกติเข้านอน 22.00-06.00 น. หลับสนิททั้งคืน
ไม่เคยนอนกลางวัน
ปวดศรีษะข้างเดียว ปวดตุ๊บๆ
ตัวอยข้อมูลปรนัย (Objective data)
สีหนไม่ค่อยสดใส
คลำพบก้อนบริเวณหน้าท้อง
เหนื่อยอ่อนเพลีย ขอบตาดำคล้ำ หาวนอนบ่อยๆ
ประเมินทางการพยาบาลในผู้ป่วยโดยใช้กรอบแนวคิดแบบสุขภาพ ของกอร์ดอน (Gordon, 1994) เครื่องมือการเก็บข้อมูล ทำได้โดยการซักประวัติ สังเกต ตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติการ และตรวจพิเศษ
แบบแผนการรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
ความรู้ดูแลสุขภาพตัวเอง
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันความเจ็บป่วยดูแลรักษา และฟื้นฟูสภาพร่างกาย
รวบรวมข้อมูลประเมินความคิด เข้าใจของบุคคลต่อภาวะสุขภาพ โดยทั่วไปของตนเองและผู้ที่รับผิดชอบ ว่าถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ และมีความคาดหวังต่อภาวะสุขภาพหรือการรักษาอย่างไร
รวบรวมโดยการซักประวัติและตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
มีความรู้หรือสาเหตุเกี่ยวกับโรคถูกต้องหรือไม่
มีควสึกและความคาดหวังกับปัญหาสุขภาพเกิดขึ้นอย่างไร
ประวัติ ความถี่อาการเจ็บป่วย บ่อยเพียงใด
มีความต้องการความช่วยเหลือจากทีมการพยาบาล
การรัสุขภาพตนเองหรือบุคคลที่รับผิดชอบตลอดว่าเป็นอย่างไร ถูกต้องหรือไม่
รับประยาเป็นประจำและเหตุผลที่รับประทานยา
พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพ เช่น ดื่มเหล้า
สูบบุหรี่ ติดสารเสพติด
การได้รับภูมิคุ้มกัน
ประวัติแพ้สารต่างๆ เช่น แพ้ยา อาหาร สารเคมี หรือสารอื่นๆ รวมทั้งอาการแพ้ และการแก้ไขเมื่อมีอาการแพ้
ตรวจร่างกายประจำปี
ดูแหรือความสนใจของครอบครัวต่อสุขภาพของผู้ป่วย เช่น พามาพบแพทย์ตามนัด การดูแลเมื่อเจ็บป่วย
ดูแลความสะอาดของร่างกายตนเอง เช่น อาบน้ำ แปรงฟัน ขณะอยู่ที่บ้าน
การตรวจร่างกาย
ความสะอาดของร่างกาย เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย
ความร่ในการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยหรือครอบครัว
ลักษณะทั่วไปและความพิการ เช่น การเดิน ลุกนั่ง เคลื่อนไหวแขนขา พูดคุย แสดงสีหน้า
สังเกตปฏิบัติตนขณะเจ็บป่วย หรือ การได้รับการดูแลจากครอบครัว
แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
ปัจจัยต่างๆ มีอิทธิพลต่อการได้รับสารอาหาร น้ำ เกลือแร่ ค้นหาสิ่งที่บ่งชี้ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงของภาวะทุนโภชนาการ เช่น อยากอาหารลดลง
ประเมินการทำงานของร่างกาย ได้แก่ การเคี้ยว กลืน ย่อย ดูดซึม และการเผาผลาญ
พฤติกรรมรับประทานอาหาร พิจารณาความสอดคล้องกับอาหารที่ควรได้รับและน้ำหนักตัว
การซักประวัติ
การเป็นโรคเกี่ยวกับการเผาผลาญสารอาหารที่ผิดปกติของผู้ป่วยและครอบครัว เช่น เบาหวาน โรคเกี่ยวกับต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ ไขมันในเลือดสูง รวมประวัติการรักษาของโรคที่เป็น
มีความรเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการหรือไม่
แบบแผนเกี่ยวกับบริโภคนิสัยและแบบแผนการดำเนินชีวิต (life style)
อุปนการรับประทานอาหาร กินอาหารเป็นเวลาหรือไม่ รับประทานเก่งหรือชอบกินจุบจิบ
ลักษณะอาหารหรือขนมที่ชอบ อาหารรับประทานประจำ อาหารไม่รับประทาน หรืออาหารแสลง
ชนิด เวลา และปริมาณอาหารในแต่ละวัน
ชอบกินอาหารขณะนั่งดูโทรทัศน์ ชอบนั่งๆ นอนๆ โดยไม่ทำกิจกรรมต่างๆหรือไม่
รับประทานยาที่เกี่ยวข้องกับการเผาผลาญสารอาหาร เช่น ยาลดระดับน้ำตาล ยาฉีดอินซูลิน ยาลดไขมันในเส้นเลือด รักษาโรคไทรอยด์ เป็นต้น
การซัประวัติ (น้ำและอิเล็กโทรไลต์)
โรคที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดน้ำ ภาวะน้ำเกิน หรือมีปัญหาความไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลต์ เช่น เบาหวาน ไตวาย ตับวาย หัวใจวาย ไข้เลือดออก การออกกำลังกายในที่มีอากาศร้อนมาก อาการอาเจียนมาก ท้องเสียมาก ไข้สูง เป็นต้น
ยาที่ได้รับซึ่งอาเจียนมีผลต่อความสมดุลของน้ำและอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย เช่น ยาขับปัสสาวะ Lasix ทำให้มีการขับ Ca ออกมากขึ้น เป็นต้น
ชนิด และปริมาณน้ำที่ดื่มในหนึ่งวัน
การตรวจร่างกาย
ประเมินภาวะโภชนาการว่าอ้วน ท้วม ปกติ หรือผอม ประเมินจากน้ำหนักและส่วนสูงที่สมดุลกันหรือประเมินดัชนีมวลกาย (BMI)
ค่าดัชนมวลกาย = น้ำหนัก (กก.)/ส่วนสูงเป็น(เมตร)2
ตรวจลัท้อง ตับ ม้ามก้อนในท้อง ฟังเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้ (Bowel sound)
เยื่อบุและแผลในช่องปาก คอ ฟันผุ เหงือกอักเสบ ทอนซิลแดงโตหรือไม่
สังเกตอาการต่างๆ เกิดขึ้นจากปัญหาการรับประทานอาหาร เช่น กลืนลำบาก คลื่นไส้ อาเจียนเบื่ออาหาร
ท้องอืด อาหารไม่ย่อย ปวดท้อง เป็นต้น
สังเกตสีของผิวหนัง ริมฝีปาก เยื่อบุตา (Conjunctiva) ตาขาว ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
ตรวจท่าทางว่ามีอาการอ่อนเพลีย กล้ามเนื้อแขนขาลีบหรือไม่ ลักษณะผม เล็บ ขาดสารอาหารหรือไม่
สังเกพฤติกรรมหารรับประทานอาหาร
การตรวจร่างกาย (น้ำและอิเล็กโทรไลต์)
ตรวจริมฝีปาก เยื่อบุปาก และลิ้นว่ามีแตก แห้งหรือไม่
ตรวจดูจำนวนและสีของน้ำปัสสาวะ
ผิวหนัง ตรวจดูความยืดหยุ่น (skin turbos) ความอุ่น ชื้นของผิวหนัง
ประเมินอาการขาดน้ำ (Dehydration) จากการตรวจร่างกาย
ตรวจดูอาการบวม (Edema)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ เช่น
ตรวจเลือดเพื่อประเมินปัญหาเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ ความสมดุลของสารน้ำและเกลือแร่ต่างๆ
ในร่างกาย
ตรวจอัลตราซาวด์ช่องท้อง (Ultrasound) ประเมินความผิดปกติของอวัยวะกายในช่องท้อง ปละทางเดินอาหาร
แบบแผนการขับถ่าย (Elimination)
รวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินกระบวนการขับถ่ายลักษณะ ปริมาณ จำนวนครั้งของเสียทุกประเภทที่ออกจากร่างกาย ทั้งอุจจาระ ปัสสาวะ น้ำและอิเลคโตรไลท์
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
เอกซเรย์ Ultrasound ดูความผิดปกติของไต ท่อไต และการอุดตันของทางเดินปัสสาวะ
ตรวจอุจจาระเพื่อประเมินว่ามีเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว พยาธิ หรือมีเลือดปนหรือไม่
ตรวจเลือดเพื่อดูระดับของยูเรีย ไนโตรเจน และครีเอตินินในเลือดบ่งบอกการทำงานของไต
การส่องกล้องเข้าทางทวารหนักเพื่อตรวจความผิดปกติของลำไส้ใหญ่
ตรวจปัสสาวะ เพื่อประเมินความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
สังเกตการมีกระเพาะปัสสาวะเต็ม (Full Bladder)
ตรวจร่างกายทั่วไปเกี่ยวข้องกับปัญหาของระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น ถ้าเป็นนิวทางเดินปัสสาวะ อาจมีอาการปวดเอวด้านหลัง
สังเกตสี ปริมาณ ลักษณะปัสสาวะที่ขับออกมาจากผู้ป่วย และหารขับถ่ายผิดปกติหรือไม่
ตรวจดูลักษณะท้อง ตรวจการเคลื่อนไหวของลำไส้
(Bowel sound) ตรวจทวารหนักเพื่อดูแผล ตรวจปริมาณ ลักษณะของอุจจาระว่าผิดปกติหรือไม่
ปัจจัยส่งเสริม และปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อแบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะปกติ
ประวัติการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกี่ยวข้องกับทางเดินปัสสาวะหรือไต เช่น ประวัติติดเชื้อทางเดินปัสสาวะบ่อยๆ
ปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะและวิธีการแก้ไข
ประวัเกี่ยวกับแบบแผนการขับถ่ายอุจจาระ ได้แก่ ความถี่ เวลาของการขับถ่ายอุจจาระ ลักษณะการขับถ่าย ชอบแบ่งถ่าย นั่งเป็นเวลานานๆ ต้องใช้ยาระบาย หรือสวนอุจจาระบ่อยครั้ง
ประวัติการใช้ยาต่างๆ เช่น ยาขับปัสสาวะ
ลดความดันโลหิต ซึ่งมีผลต่อการทำงานของไต
ปัญหาในการขับถ่ายอุจจาระและวิธีการแก้ไข ได้แก่ ปัญหาท้องผูก แก้ไขโดยการรับประทานยาระบายเป็นประจำ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะวันละกี่ครั้ง จำนวนมากน้อยเพียงใด
ปีจจส่งเสริมและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อแบบแผนการขับถ่ายอุจจาระ เช่น อุจจาระตามสถานที่อื่นๆ
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
(Activity and Exercise)
ความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อไม่สามารถทำกิจกรรมที่ตนเองต้องการ
รวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินระดับความสามารถในการประกอบกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน
ข้อจหรือเงื่อนไขในการดำเนินชีวิตที่มีผลต่อการทำกิจกรรมและออกกำลังกาย เช่น หอบเหนื่อย
ผลกระทบที่เกิดจากการเจ็บป่วยต่อการประกอบกิจกรรมและการออกกำลังกาย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจเลือดและเอกซเรย์ปอด เพื่อประเมินภาวะผิดปกติที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
ตรวจอาการขาดออกซิเจน เช่น สังเกตผิวหนัง ริมฝีปาก เล็บมือ เล็บเท้าว่ามีอาการเขียวคล้ำหรือไม่ (Cyanosis)
ตรวจวัดสัญญาณชีพ ประเมินอาการและความดันโลหิตสูง
การซักประวัติ
การออกกำลังกาย ระยะเวลาการออกกำลังกายกี่ครั้งต่อสัปดาห์ ใช้เวลานานเท่าไหร่
ประวัติการนันทนาการ งานอดิเรกเวลาว่าง
กิจกรรมในอาชีพหนักเบาอย่างไร เช่น ครู ค้าขาย ชาวนา มีกิจกรรมแตกต่างกัน
ปัจจัยการปฏิวัติกิจวัตรประจำวันเปลี่ยนแปลง
ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันว่าสามารถทำอะไรได้บ้าง
•สามารถประฏิบัติงานและกิจกรรมต่างๆได้
•ดูแลกิจวัตรประจำวันของตนเองได้จำกัด
•ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันของตัวเองได้
•ทำงานหรือกิจกรรมได้จำกัด
ปัจจัยเสริมที่สามารถทำให้ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
ประวัติการเป็นโรคที่เป็นต่ออุปสรรคในกิจวัตรประจำวัน
การได้รบาดเจ็บหรือเกิดอุบัติเหตุต่อกระดูก ข้อ
และกล้ามเนื้อ
ประวัติการมีปัจจัยเสี่ยงต่อการมีปัญหาระบบหัวใจและไหลเวียนโลหิต
ได้รับบาดเจ็บที่ทำให้เกิดปัญหาทางระบบเดินหายใจ
การเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับกระดูก
ความเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาระบบทางเดินหายใจ
การใช้ยาต่างๆ ที่มีผลต่อการหายใจ
ประวัติการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด
ประวัติการใช้ยามีผลต่อการทำงานของหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ประวัติการเกิดความผิดปกติต่างๆ
ประวัติความเจ็บป่วยในครอบครัวด้วยโรคความดันโลหิตสูง
แบบแผนการผักผ่อนนอนหลับ (Sleep and Rest)
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
สังเกตหน้าตาว่านอนหลับพักผ่อนเพียงพอหรือไม่
ง่วงนอน หาวนอนบ่อย
ใต้ตาเปรอยเขียวคล้ำ
สดชื่นแจ่มใส ซึม อ่อนเพลีย
นอนเวลากลางวันหรือกลางคืน
มีกใช้ยานอนหลับ ใช้ยาอะไร เมื่อไหร่ ความถี่ในการใช้ยา
การผ่อนคลาย
•อ่านหนังสือ ดูหนัง ฟังเพลง นั่งสมาธิ เล่นกีฬา ท่องเที่ยว
ปัญหาเกี่ยวกับการนอน
นอนมากไป นอนน้อย นอนไม่หลับ นอนยาก ตื่นเช้า หลับๆ ตื่นๆ หลับไม่สนิท ฝันร้าย รวมทั้งสาเหตุปัญหาแนวทางแก้ไข
สิ่งที่ช่วยทำให้นอนหลับง่าย
ก่อนนอนฟังเพลง ฟังธรรม ดื่มนม
หรือบรรยากาศเงียบและไม่มีแสงไฟ
พฤติกรรมการนอน
เป็นคนนอนดึกหรือตั้งแต่หัวค่ำ
ชอบหลับกลางวันตื่นกลางคืน
แบบแผนเกี่ยวกับการนอนหลับ ปัญหาเกี่ยวกับการนอน ปัจจัยส่งเสริม ปัจจัยเสี่ยง และอุปสรรคต่อแบบแผนการสอน
6.แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้ (Cognition and Perception)
1.การรับรู้ความรู้สึกและการตอบสนอง
เกี่ยวกความสามารถของบุคคลในการรับรู้ซึ่งสร้างและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าด้านความรู้สึก
2.ความสามารถทางสติปัญญา
ความสามารถและพัฒนาการทางสติปัญญาเกี่ยวกับความคิดความจำ ความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหาและการสื่อภาษาต่างๆ
การตรวจร่างกาย
การซัประวัติ
ปัญหาการรับรส เช่น ไม่สามารถรับรสได้ ปากชา ลิ้นชา
ปัญหาการรับรู้ความรู้สึกทางผิวหนัง เช่น อาการชา
ปัญหาการได้ยิน เช่น หูอื้อ หูตึง ไม่ได้ยิน มีเสียงดังในหู
โรคประจำที่มีผลต่อการรับรู้ความรู้สึกดังกล่าว เช่น โรคเบาหวาน
ปัญหาการมองเห็น เช่น ภาพซ้อน ตามัว มองไม่เห็น
พัฒนาการด้านสติปัญญา โดยการซักถามเกี่ยวกับความสามารถกในการเรียน ทำงาน คิดจำ ตัดสินใจ แก้ปัญหาและการสื่อสาร
ปัญหาการได้กลิ่น เช่น ความผิดปกติของจมูก ได้กลิ่นลดลง หรือไม่ได้กลิ่น
ความเจ็บป่วยที่ทำให้ความสามารถทางสติปัญญาเปลี่ยนแปลง
ความรู้สึกทั่วไป สุขสบายหรือไม่สุขสบาย
ประวัติการได้รับยาบางชนิดซึ่งมีผลต่อความคิด จำ หรือทำให้สับสน
ปัญหาความรู้สึกตัว เช่น อาการสับสน ซึม ไม่รู้สึกตัว
ประเมินระดับความรู้สึกตัว เช่น ลืมตา สื่อภาษา เคลื่อนไหวของร่างกาย และตรวจความผิดปกติของจมูก
สังเกตลักษณะทั่วไป เช่น รูปร่าง ลักษณะ หน้าตา ท่าทาง การแต่งตัว ดูแลสุขอนามัยทั่วไป
ประเมินระดับสติปัญญา (IQ) โดยใช้แบบทดสอบ
แบบแผนการรับรู้ตนเองและดัตโนทัศน์ (Self perception and Self concept)
ความคิด ความรู้สึกของบุคคลมีผลต่อตนเอง
การตรวจร่างกาย
การซัประวัติ
รู้สต่อตนเองการเปลี่ยนแปลงร่างกายที่มีอุปกรณ์เพิ่มขึ้น เช่น มีสายสวยปัสสาวะ
การสูอวัยวะจากการเป็นโรค การผ่าตัด หรือเกิดอุบัติเหตุหน้าเสียโฉม ตัดขา
ความสามารถในด้านต่างๆ ได้แก่ การปฏิบัติงาน เรียน กิจกรรมต่างๆ
ภูมใจในตนเอง ความพอใจ ความรู้สึกสูญเสียความมั่นคงปลอดภัย ท้อแท้ สิ้นหวัง เป็นต้น
รู้สต่อตนเอง รู้สึกอ้วน ผอม สูงหรือเตี้ยเกินไป
สังเกตความสนใจของผู้ป่วย
สังเกตปฏิกิริยาตอบสนองหรือพฤติกรรมที่แสดงออกต่อการเปลี่ยนแปลงหรือสูญเสีย
กล่าวถึตนเอง
การแต่งกาย บุคลิกภาพ
แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ
(Role and Relationship)
เกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบติดต่อสื่อสารและการมีสัมพันธภาพในครอบครัวและสังคม
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ท่าทางที่แสดงออกต่อครอบครัวและบุคคลในครอบครัวแสดงต่อผู้ป่วย
การซัประวัติ
ตำแหน่งความรับผิดชอบ หน้าที่ การงาน อาชีพ
สัมพันธภาพของผู้ป่วยกับครอบครัว เพื่อนร่วมงาน
เพื่อนบ้าน
สิ่มที่เป็นอุปสรรคต่อการสัมพันธภาพที่ดี เช่น ทัศนคติไม่ดีต่อกัน ความเครียดภายในครอบครัว
การแสดงของผู้ป่วยในครอบครัวสุขภาพดีและเจ็บป่วย มีผลกระทบต่อครอบครัวหรือไม่
โครงสร้างครอบครัว เช่น จำนวนสมาชิกในครอบครัวมีใครบ้าง
ความรับของผู้ป่วยและสมาชิกคนอื่นๆ
แบบแผนเพศและการเจริญพันธุ์
(Sexuality and Reproduction)
พัฒนาการเพศ มีอิทธิพลมาจากพัฒนาการด้านร่างกายและอิทธิพลของสังคม สิ่งแวดล้อม การเลี้ยงดู ลักษณะการเจริญพันธ์ุ พฤติกรรมทางเพศ
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤติกรรมทางเพศจากลักษณะท่างทางที่แสดงออก
เพศหญิง ตรวจเต้านม ต่อมน้ำเหลือง อวัยวะเพศหญิง เพศชาย อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคเอดส์
การซักประวัติ
การมีเพศสัมพันธ์เสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อกันได้ทางเพศสัมพันธ์
การมีเพศสัมพันธ์ ความเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับการมีเพศสัมพันธ์
เพศหญิงควรซักประวัติเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ การแท้ง มีบุตร คุมกำเนิด การติดเชื้อของอวัยวะสืบพันธ์ุ
การทำงานของระบบสืบพันธุ์
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญความเครียด
การรับรู้ลักษณะอารมณ์พื้นฐาน เกี่ยวกับความเครียด ปฏิกิริยาของร่างกายเมื่อเกิดความเครียด วิธีการแก้ไขและจัดการความเครียด
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
ระบายความเครียดกับบุคคลใกล้ชิด เก็บตัวเงียบไม่สังสรรค์กับใคร ใช้ยา
ลักษณะอุปนิสัยหรืออารมณ์พื้นฐานของผู้ป่วย
ข้อมูลทั่วไป เช่น อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ สถานภาพสมรส ความสัมพันธ์ในครอบครัว
สิ่งที่ทำให้เกิดความเครียด ไม่สบายใจ วิตกกังวล กลัว เครียด คับข้องใจ
ความต้องการการช่วยเหลือและบุคคลสนับสนุนให้กำลังใจช่วยแก้ปัญหา
อาการต่างๆ เมื่อเกิดความเครียด นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร เหนื่อยหอบ
ตรวจสอบพฤติกรรมบ่งชี้ถึงความเครียด ความเศร้า ความวิตกกังวล
สีหน้าหมกมุ่น ขมวดคิ้ว กระวนกระวาย ซึม เงียบ ร้องไห้ นอนไม่หลับ
สังเกตอาการต่างๆ เช่น เหงื่อออกมาก หน้าซีดหรือหน้าแดง มือสั่น หายใจเร็ว
แบบแผนคุณค่าและความเชื่อ (Value and Belief)
แบบแผนความเชื้อ ความศรัทธา มั่นคงเข้มแข็งทางด้านจิตใจ
การซักประวัติ
ค่าน ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม
ความหวังหรือเป้าหมายในชีวิต
ความเชื่อ ผูกพัน ศรัทธาที่มีต่อสิ่งต่างๆ
ความเชืเกี่ยวกับสุขภาพ เช่น เกี่ยวกับการเกิดโรค การรักษา ความขัดแย้งระหว่างความเชื่อ
สิ่งสในชีวิต หรือสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ความเชื่อทางศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม
การตรวจร่างกาย
แสดงออกถึงความเชื่อต่างๆ เช่น มีพระพุทธรูป สร้อยพระ หรือวัตถุมงคลบูชา
สังเกตคำพูดของผู้ป่วยและญาติที่แสดงถึงการให้คุณค่าความเชื่อด้านต่างๆ
สังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกทางสีหน้า กริยาท่าทาง รวมทั้งการแสดงทางอารมณ์