Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
The Effect of Psychoeducation Based on Motivational Interview Techniques…
The Effect of Psychoeducation Based on Motivational Interview Techniques on Medication Adherence, Hope, and Psychological Well-Being in Schizophrenia Patients
Introduction
-
-
-
การรักษาด้วยยา เป็นทางเลือกที่ถูกนำมาใช้ในการรักษาผู้ป่วยจิตเภท แต่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลับน้อย เนื่องจากจะต้องใช้ระยะเวลานานในการรักษา และผลข้างเคียงของยาที่มากเกินไป ส่งผลให้เกิดผลกระทบทางด้านลบต่อผู้ป่วย
การปฏิบัติตามแผนการรักษา เป็นแนวทางที่ใช้ในผู้ป่วยที่ถูกได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคจิตเภท ได้รับรู้ถึงภาวะสุขภาพ พร้อมให้คำแนะนในการดูแลตนเอง และเพื่อติตามผลการรักษา
-
ความหวัง จะช่วยให้ผู้ป่วยรับมือกับอาการของโรค และค้นหาความหมายของชีวิตได้ โดยความหวังจะช่วยเพิ่มทักษะด้านการเผชิญปัญหา การให้ความร่วมมือในการบำบัด และเพิ่มระยะเวลาการฟื้นคืน
ผู้ป่วยจิตเภทที่มีความเป็นอยู่ที่ดี จะส่งผลให้คุณภาพชีวิตดีขึ้นด้วย เพิ่มระดับการเข้าสังคม เพิ่มทักษะการปรับตัวให้เข้ากับสภาพความเป็นอยู่ และลดอาการที่เกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพ
สุขภาพจิตศึกษา (Psychoeducation) เป็นการบำบัดพฤติกรรม โดยการให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค สร้างแรงจูงใจด้วย MI (motivational interview) โดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง เพื่อเพิ่มความสามารถในการปฏิบัติตามแผนการรักษา เพิ่มเความหวัง และเพิ่มความผาสุก
การบำบัดด้วย MI สามารถสร้างแรงบันดาลใจ ในผู้ป่วยที่มีความสามารถในการการปฏิบัติตามแผนการรักษาระดับต่ำ ในระยะแรก และเพิ่มความหวังของผู้ป่วย
พยาบาลจิตเวชมีบทบาทสำคัญในพัฒนาและตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนการรักษา ความหวัง และความเป็นอยู่ที่ดีของผู้ป่วย
จากการทบทวนวรรณกรรม ยังไม่พบการศึกษาถึงประสิทธิผลของการบำบัดด้วย MI ในการปฏิบัติตามแผนการรักษา ความหวัง และความผาสุกของผู้ป่วย
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาการบูรณาการการบำบัดด้วย MI ในผู้ป่วยจิตเภทรายบุคคล โดยการฝึกทักษะการบำบัดด้วย MI ให้กับพยาบาล
Method
Design and Setting
-
-
-
ประชากร
-
กลุ่มตัวอย่าง
-
การคัดเลือกกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยการจับสลาก ผู้ป่วยจะได้รับตัวเลขที่เขาเลือกจากตารางสุ่ม
-
-
-
-
Procedure
-
จัดโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาการบำบัดด้วย MI โดยกำหนดร่วมกันกับกลุ่มทดลอง แบ่งออกเป็น 7 กลุ่มย่อย กลุ่มละ 10-11 คน ครั้งละ 60 นาที และมีเวลาพักระหว่างกิจกรรม 15 นาที
ผู้วิจัยให้โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาการบำบัดด้วย MI ในกลุ่มทดลอง 2 วันต่อสัปดาห์ (ทุกวันอังคารและศุกร์) เป็นระยะเวลา 6-8 สัปดาห์
-
-
Results
ในการประเมินหลังการทดสอบของกลุ่ม พบว่าคะแนนเฉลี่ยความสม่ำเสมอในการรับประทานยา ความหวัง และความเป็นอยู่ทางจิตใจของกลุ่มทดลองเท่ากับ 2.88 ± 1.11 (ระดับปานกลาง), 36.12 ± 3.24 และ 24.56 ± 2.91 ตามลำดับ นอกจากนี้ ค่าเฉลี่ยความสม่ำเสมอในการรับประทานยา ความหวัง และคะแนนความผาสุกทางจิตใจของกลุ่มควบคุมเท่ากับ 1.04 ± 0.03 (ระดับต่ำ) 20.23 ± 3.44 และ 19.73 ± 2.61 ตามลำดับ พบว่ามีความแตกต่างที่มีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างค่าเฉลี่ยความสม่ำเสมอในการรับประทานยาหลังการทดลอง ความหวัง และคะแนนความผาสุกทางจิตใจของผู้ป่วยในกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง (p < .05) ค่าเฉลี่ยความสม่ำเสมอในการรับประทานยา ความหวัง และคะแนนความผาสุกทางจิตใจของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม
จากผลการเปรียบเทียบภายในกลุ่ม มีความแตกต่างที่มีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างค่าเฉลี่ยความสม่ำเสมอในการรับประทานยา ความหวัง และคะแนนความผาสุกทางจิตใจของผู้ป่วยในกลุ่มทดลอง (p < .05) ค่าเฉลี่ยความสม่ำเสมอในการรับประทานยา ความหวัง และคะแนนความผาสุกทางจิตใจของผู้ป่วยในกลุ่มทดลองนั้นสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนเฉลี่ยก่อนการทดสอบ ในทางกลับกัน ไม่มีความแตกต่างที่มีนัยสำคัญระหว่างคะแนนก่อนการทดสอบและหลังการทดสอบของผู้ป่วยในกลุ่มควบคุม (p > .05)
เอกสารอ้างอิง
Pinar, H., & Funda, K. B. (2021). The Effect of Psychoeducation Based on Motivational Interview Techniques on Medication Adherence, Hope, and Psychological Well-Being in Schizophrenia Patients. Clinical Nursing Research, 1-15. https://doi.org/10.1177/10547738211046438
Pinar, H., & Funda, K. B. (2021)