Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาบทความวิจัยเรื่องที่ 2 การศึกษาภาวะสุขภาพของประชาชนในชุมชนบ้านเอื…
กรณีศึกษาบทความวิจัยเรื่องที่ 2 การศึกษาภาวะสุขภาพของประชาชนในชุมชนบ้านเอื้ออาทรบางเขน(คลองถนน)
วัตถุประสงค์การวิจัย
1.เพื่อศึกษาสภาวะสุขภาพของประชาชนในชุมชนบ้านเอื้ออาทรบางเขน
3.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในชุมชนบ้านเอื้ออาทรบางเขน
2.เพื่อศึกษาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในชุมชนบ้านเอื้ออาทรบางเขน
กรอบแนวคิดการวิจัย
พฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
พฤติกรรมการป้องกันโรค
พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
ภาวะสุขภาพ
ดัชนีมวลกาย
ระดับความดันโลหิต
สุขภาพจิต
ขอบเขตการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงทดลอง (experimental research) ชุมชนบ้านเอื้ออาทรบางเขน (คลองถนน) ที่มา รับบริการด้านสุขภาพ ในโครงการ “ชุมชนร่วมใจ สุขภาพจิตสดใส สุขภาพกายแข็งแรง” ณ ชุมชน บ้านเอื้ออาทรบางเขน (คลองถนน) ในวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 จํานวน 98 คน
การอภิปรายผลการวิจัย
ภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง
สุขภาพด้านร่างกาย
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีดัชนีมวลกายอ้วนระดับที่ 1 ร้อยละ 33.67 มีโรคประจำตัว ร้อยละ 56.12 โรคประจำตัวที่พบมากที่สุดคือ โรคความดันโลหิตสูง สาเหตุส่วนใหญ่เนื่องจากความอ้วนและการขาดการออกกำลังกาย
กลุ่มที่มีความดันโลหิตสูง จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและเลือดสมอง 1.5- 2 เท่า
พฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 59.18
พฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างเพียงร้อยละ 40.82 ที่ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ3วัน วันละ30นาทีอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะช่วยป้องกันโรคหัวใจและทำให้ความดันโลหิตลดลง
ภาวะสุขภาพจิต
กลุ่มตัวอย่างมีภาวะสุขภาพจิตอยู่ในระดับมากกว่าคนทั่วไป ร้อยละ 48.99 รองลงมา คือ มีสุขภาพจิตเท่ากับคนทั่วไป ร้อยละ 28.57 อธิบายได้ว่า เนื่องจากกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่อยู่ในวัยผู้ใหญ่
ผลการศึกษายังพบว่าพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีความสุขและพึงพอใจในชีวิตและการทํางานมาก ร้อยละ 73.47 สามารถจัดการกับปัญหาชีวิตได้โดยมีความเครียดน้อย ร้อยละ 69.39 และมีสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย มีสถานที่ออกกำลังกายและพักผ่อนจิตใจร้อยละ 68.37
พฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมสุขภาพอยู่ในระดับสูงมากที่สุด โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างซึ่งการดําเนินชีวิตประจําวันของผู้ที่มีอาชีพรับจ้าง มักเป็นไปด้วยความเร่งรีบต้องทำงานแข่งขันกับเวลา
ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมสุขภาพกับภาวะสุขภาพ
ประชากรที่มีพฤติกรรมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับต่ำจะมีดัชนีมวลกายอ้วนระดับที่ 1 อธิบายได้ว่า พฤติกรรมสุขภาพเป็นสิ่งจำเป็นที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของบุคคล มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารและขาดการออกกำลังกาย
ประชากรที่มีพฤติกรรมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับต่ำจะมีภาวะสุขภาพจิตต่ำกว่าคนทั่วไป ซึ่งภาวะที่บุคคลมีสุขภาพจิตดีเป็นแรงจูงใจให้บุคคลมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพของตนเองหรือกระทำพฤติกรรมสุขภาพ
ผลการศึกษาสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนให้ความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการมีสุขภาพที่ดี
คำจำกัดความที่ใช้ในการวิจัย
พฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
การปฎิบัติของบุคคลเพื่อให้มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์และจิตวิญญาณ
การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ การออกกำลังกาย การจัดการความเครียด
พฤติกรรมการป้องกันโรค
การปฎิบัติของบุคคลเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรค
การไม่สูบบุหรี่หรือสุรา หลีกเลี่ยงอบายมุข
ตรวจสุขภาพร่างกายหรือฉีดวัคซีน
พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
เป็นพฤติกรรมที่บุคคลปฏิบัติไปแล้วก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพหรือเกิดโรค
เช่น พฤติกรรมการไม่สูบบุหรี่หรือดื่มสุรา
วิธีดำเนินการวิจัย
ประชากร
คือ ประชาชนในชุมชนบ้านเอื้ออาทรบางเขน (คลองถนน) ที่มารับบริการโครงการ “ชุมชนร่วมใจ สุขภาพจิค สดใส สุขภาพกายแข็งแรง” ณ ชุมชนบ้านเอื้ออาทรบางเขน (คลองถนน) จำนวน
130 คน
กลุ่มตัวอย่าง
คํานวณขนาด กลุ่มตัวอย่างตามสูตรของ Taro Yamane12 จํานวน 98 คน มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ผู้วิจัยได้กําหนด โดยเป็นประชาชนในชุมชนบ้านเอื้ออาทรบางเขน (คลองถนน) ที่มารับบริการโครงการ “ชุมชนร่วมใจ สุขภาพจิตสดใส สุขภาพกายแข็งแรง” ณ ชุมชนบ้านเอื้ออาทรบางเขน (คลองถนน) มีอายุ 18 ปีขึ้นไป สามารถพูดคุยสื่อสาร อ่านและเขียนหนังสือได้ และสมัครใจเข้าร่วมการวิจัย
ความเป็นมา
ประชาชนในชุมชนบ้านเอื้ออาทรบางเขน (คลองถนน) มีวิถีชีวิตที่เร่งรีบจากการจราจรติดขัด ต้องใช้เวลามากในการเดินทางไปทำงานและกลับบ้าน จึงไม่เอื้อต่อการมีพฤติกรรมสุขภาพโดยเฉพาะพฤติกรรมสุขภาพด้านการออกกำลังกาย และการเคลื่อนไหว ที่เหมาะสม
เครื่องที่ใช้ในการวิจัย
ส่วนที่ 1
แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และ โรคประจําตัว
ส่วนที่ 2
แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะสุขภาพกาย คือ น้ำหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย และความดันโลหิต
ส่วนที่ 3
แบบสอบถามภาวะสุขภาพจิต ใช้แบบสอบถามดัชนีวัดสุขภาพจิตคนไทยฉบับสั้น 15 ข้อ (TMHI-15)
ส่วนที่ 4
แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเป็นข้อคำถามให้เลือกตอบ 2 ตัวเลือกคือ ใช่ และไม่ใช่ จํานวนข้อคําถามทั้งสิ้น 15 ข้อ เป็นคําถาม ด้านบวก 4 ข้อและข้อคำถามด้านลบ 11 ข้อ
เฉลย
พฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับสูง ต้องเป็น
พฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับปานกลาง
การวิจัยเชิงทดลอง ต้องเป็น
การวิจัยเชิงพรรณนา
เครื่องมือที่ใช้วิจัย ตรงส่วนที่4 ด้านบวก 4 ข้อ ลบ 11 ข้อ ต้องเป็น
ด้านบวก11ข้อ กับลบ4ข้อ
พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น พฤติกรรมการไม่สูบบุหรี่หรือดื่มสุรา ต้องเป็น
พฤติกรรมการสูบบุหรี่หรือดื่มสุรา
แบบประเมินสุขภาพจิตใช้ ST-5 ต้องเป็น
แบบประเมินTMHI-15
ภาวะสุขภาพ
สุขภาพทางกาย
ประเมินจากการตรวจสุขภาพเบื้องต้น ประกอบด้วย ดัชนีมวลกายและความดันโลหิต
สุขภาพทางจิต
หมายถึง การที่บุคคลมีสภาพจิตใจที่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ มีจิตใจเบิกบานแจ่มใส สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีความสุข โดยประเมินจาก ST-5
กลุ่ม 4 สีเหลือง yellow มะม่วง mango ใหญ่ๆ jumbo
สมาชิกกลุ่ม ธนพัต บัติโยธา 013, คณิตา พูลเพิ่ม 096, พิชญาภัค จันทร 103, ศลิษา คณานิตย์สกุล 111, กวินทิพย์ ถิ่นทัพไทย 133, นัฐลดา มิตรเกษม 142, นิอรีซ อับดุลรอแม 143, อภิชญา คำหอมกุล 148, วิรัญชนา อยู่วงษ์ 166, สุธิดา พิพัฒน์สิริเมธี 170