Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะผิดปกติทางด้านจิตสังคมหลังคลอด, บทที่ 9 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อ…
ภาวะผิดปกติทางด้านจิตสังคมหลังคลอด
Postpartum blues
ปัจจัยเสี่ยง
มีประวัติเคยมีความผิดปกติด้านจิตใจ/ซึมเศร้า
ไม่ต้องการตั้งครรภ์/ครรภ์ไม่พร้อม
ขาดการมีสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว
ไม่ได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือ
มีบุตรหลายคน
ขาดความมั่นใจในตนเอง
อาการ/อาการแสดง
อารมณ์เปลี่ยนแปลงเร็ว
มีความรู้สึกอยากร้องไห้
เบื่ออาหาร
นอนไม่หลับ
รู้สึกไม่สุขสบาย
ตื่นเต้นง่าย หรือรู้สึกไวต่อการกระตุ้น
การรักษา
บางครั้งไม่จำเป็นต้องรักษา
แพทย์อาจพิจารณาให้ยาคลายเครียด
ให้ความมั่นใจมารดาว่าสามรถดูแลตนเองกับทารกได้
ให้ความหวัง ทำจิตบำบัด
การพยาบาล
สังเกต/ประเมินเกี่ยวกับความรู้สึก
ประเมินสัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในครอบครัว/สามี
สร้างบรรยากาศ/เป็นตัวกลางในการติดต่อสื่อสารระหว่างมารดาหลังคลอดกับบุคลากรอื่น
แนะนำสามี/ญาติให้ช่วยดูแลทารกแทนในบางครั้ง เพื่อให้มารดาได้พักผ่อนได้
Postpartum depression
สาเหตุ
ความตึงเครียดด้านร่างกาย
ความตึงเครียดจากการคลอด
ความตึงเครียดด้านจิตใจ
ความตึงเครียดด้านสังคม
อาการ/อาการแสดง
นอนไม่หลับ พักผ่อนไม่เพียงพอ
ร้องไห้โดยไม่ทราบสาเหตุและไม่สามารถควบคุมได้
เบื่ออาหาร
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
มองตนเองว่าไร้ค่า
แยกตัวเอง ไม่ชอบเข้ากลุ่ม
ไม่สนใจดูแลตนเอง
โทษคนอื่นไรู้สึกไม่เป็นมิตรกับใคร
การรักษา
จิตบำบัด
ให้การสนับสนุนทางสังคม
การใช้ยา
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยา
เปิดโอกาสให้มารดาหลังคลอดซักถาม/ระบายความรู้สึก
ให้ความรู้แก่มารดาและครอบครัว เกี่ยวกับการปรับตัว
อนุญาตให้ญาติดูแลอย่างใกล้ชิด
กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้าง
ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
Postpartum psychosis
สาเหตุ
สัมพันธภาพระหว่างสามี-ภรรยาไม่ดี
ระบบสนับสนุนทางสังคมน้อย
ครอบครัวมีประวัติผิดปกติทางจิต
มีเหตุการณ์รุนแรงเกิดขึ้นเฉียบพลัน
มีบุคลิกภาพย้ำคิดย้ำทำ
สมาชิกในครอบครัวมีปัญหาความผิดปกติด้านอารมณ์
การปรับตัวด้านจิตสังคมในระยะตั้งครรภ์ไม่ดี
มีประสบการณ์การคลอดไม่ดี
อาการแสดง
บุคลิกภาพเปลี่ยนไป
ขาดความสนใจในตนเอง ทารก และสิ่งแวดล้อม
กระสับกระส่าย
หงุดหงิด อารมณ์ไม่แน่นอน
ภาวะการรู้ตัวเลือนลาง สับสน ความจำเสีย ขาดสมาธิ
การเคลื่อนไหวผิดปกติ
การรักษา
รักษาด้วยยา
ช็อกด้วยกระแสไฟฟ้า
ให้การสนับสนุนทางสังคม
ทำจิตบำบัด
การพยาบาล
กระตุ้น/ส่งเสริมให้มารดาปฏิบัติกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง
ดูแลให้ได้รับความสุขสบาย รับประทานอาหารที่ชอบ
ดูแลให้ได้รับความปลอดภัย
สังเกตการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม/คำพูด อย่างใกล้ชิด
ให้เวลามารดาได้พูดคุย รับฟังสิ่งที่มารดาพูดให้มากที่สุด
ส่งเสริมสัมพันธภาพภายในครอบครัว
บทที่ 9 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด
นางสาววิภาดา ชื่นใจ เลขที่37