Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
G1P1A0 severe preeclampsia อายุ 39 ปี, จัดทำโดย - Coggle Diagram
G1P1A0 severe preeclampsia
อายุ 39 ปี
ANC
LMP จำไม่ได้
U/S ครั้งแรก 26/10/64
GA 14+1
EDC 26/4/65
Laboratory
VDRL : NR
HBsAg neg
HIV neg
Blood group AB Rh +
OF neg DCIP neg
Hct 34%
การรับวัคซีน
วัคซีนป้ิงกันบาดทะยัก 2 ครั้ง
BMI ก่อนคลอด 31.11 (เกิน)
70kg ,150cm
LR
GA by U/S 39 wks
by size 40 wks
BMI มาคลอด 40.44 (เกิน)
91kg,150cm
C/S longitudinal
Presentation : vertex
ทารกคลอด 16.12 น. (19/4/65)
EBS 300 ml
BP 155/98 mmHg ⬆️
ทารกเพศหญิง 3020 g
ยาว 49 cm
รอบศีรษะ 34 cm
รอบอก 32 cm
Apgar score 8,9,10
Severe preeclampsia
50% MgSO4 40 gm + nss 1000 ml rate 50 ml/hr
2 g/hr
PP
ประเมินภาวะสุขภาพในระยะหลังคลอด
ภูมิหลัง : G1P1A0 severe preeclampsia
สภาวะทั่วไปของร่างกาย :
สัญญาณชีพและความดันโลหิต :
เต้านมและการหลังน้ำนม :
ประเมิน Lacth score ได้ __คะแนน
หน้าท้องและมดลูก : ยอดมดลูกอยู่ในระดับ ___นิ้ว
กระเพาะปัสสาวะ :
เลือดและน้ำคาวปลา :
ฝีเย็บและอวัยวะสืบพันธ์ภายนอกและทวานหนัก :
การทำงานของลำไส้ : ___ครั้ง/นาที
ภาวะจิตสังคม : ประเมินภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
สัมพันธภาพ :
ความเชื่อ :
ทารก : ทารกเพศหญิง 3020 g. ยาว 49 cm รอบศรีษะ 34 cm รอบอก 32 cm
สุขศึกษา
อาบน้ำทารกและเช็ดตาเช็ดสะดือทารก
ดูแลทารกประจำวัน
แนะนำมารดาเกี่ยวกับ Vaccine ที่ทารกควรได้
สอนการใช้สมุดสีชมพูและสมุดพัฒนาการ
แนะนำมารดาหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอด
สอนสุขศึกษาเรื่องนมแม่
สอนสุขศึกษา Family planning
Post-op
BP 146/80 mmHg ⬆️
50% MgSO4 20 gm + nss 460 ml rate 50 ml/hr
2 g/hr
Nursing
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ประเมินV/S ทุก4ชม.
ประเมินอาการและอากรแสดงของภาวะติดเชื้อหลังคลอด เช่น ไข้ แผลมีDischarge หนอง ปวด บวม แดง น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
ประเมินลักษณะ สี กลิ่นของน้ำคาวปลา
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ส่งเสริมการหายของแผล
ให้คำแนะนำในการปฎิบัติตัวและสังเกตอาการที่ผิดปกติให้รีบแจ้งพยาบาล เพื่อป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ส่งเสริมการหายของแผล
ดูแลให้ได้รับยา Ampicillin 2 gm IV q 6 hr ตามแผนการรักษาแพทย์
เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
ประเมินมดลูกทางหน้าท้องและวัดยอดมดลูก( HF)
สังเกตระดับความรู้สึกตัวและอาการผิดปกติ เช่น หน้ามืด ใจสั่น เหงื่อออก ตัวเย็น ซีด
ประเมินV/S
ประเมินอาการและอารแสดงของการตกเลือด เช่น
ซึม อ่อนเพลีย ซีด -เหงื่อออก ตัวเย็น
.ประเมินกระเพาะปัสสาวะและลักษณะของน้ำปัสสาวะ
ประเมินปริมาณและลักษณะของ lochia พร้อมการเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 3-4 ชม.
กระตุ้นให้ทารกดูดนมทุก2-3 ชม.
ตรวจร่างกาย เช่น เยื่อบุตา capillary
ติดตามค่า Hct ภายใน 24 ช.ม
ดูแลให้ได้รับ 0.9 NSS (1000) + Oxytocin 10 U IV 24 ml/hr titate ครั้งละ 20 ml/hr q 20 min max 72 ml/hr และสังเกตอาการข้างเคียง
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด และมดลูก
ประเมิน After painและปวดบริเวณอื่นๆ โดย Numerical rating scale (NRS)
ประเมินลักษณะและความปวดของฝีเย็บ ใช้ P-REEDA SCORE
แนะนำให้มารดาทำ Kegel exercise ให้ทำครั้งละ10-20 ครั้ง ให้ได้วันละ 100-200 ครั้ง
แนะนำเทคนิคผ่อนคลายความปวดแบบไม่ใช้ยา เช่น สอนการหายใจ , ฟังเพลง , พูดคุยเบี่ยงเบนความปวด
ใช้ความเย็นประคบใน 24 ช.มแรกและความร้อนใน 24 ช.มถัดมา ประคบในบริเวณที่ปวด ยกเว้นแผลผ่าตัด
หากผู้ป่วยยังไม่ดีขึ้นสามารถดูแลให้ได้รับยา Paracetamol (500 mg ) 1 tab oral prn q 4-6 hr
• เมื่อปวดปานกลาง 4-6 คะแนน
• ให้ยาIbuprofen (400) *3 days เมื่อปวดมาก 7-9 คะแนน
ส่งเสริมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ประเมินความสามารถของผู้ป่วยในการนำทารกเข้าเต้าและทำให้นมทารก (ให้ผู้ป่วยได้ลองทำด้วยตัวเองก่อนหากทำไม่ได้จะให้คำแนะนำ)
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับท่าอุ้มทารกที่สะดวกและสุขสบายต่อผู้ป่วยในการให้นมทารก รวมทั้งการเน้นกระตุ้นให้นำทารกเข้าเต้า q 2-3 hr และประเมิน Latch score
หากผู้ป่วยสามารถจัดทำอุ้มได้และกระตุ้นให้ทารกดูดนมได้ทุก 2-3 ช.ม ก็ต้องช่วยเหลือตามหลัก 4 ดูดต่อ
สอนกระตุ้นการนวดเต้านมและการบีบเก็บน้ำนม รวมทั้งการดูแลเมื่อหัวนมแตกและคัดตึงเต้านม
แนะนำและสอนสามีให้มีส่วนร่วมในการให้นมทารก
แนะนำให้มารดาดื่มน้ำ 350-400 ml หลังให้นมทารก (รวม 3000 ml/day ) และรับประทานอาหาร อย่างเพียงพอ โดยแนะนำอาหารที่เพิ่มน้ำนม เช่น หัวปลี น้ำขิง มะละกอ เป็นต้น
ความวิตกกังวล
สร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วย
ประเมินความวิตกกังวล 2Q 9Q 8Q ในสมุดเล่มสีชมพู
ให้ข้อมูลและชี้แจงแผนการรักษา พร้อมกับพูดคุยให้ข้อมูลและกำลังใจ
ให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสซักถามสิ่งที่สงสัยและระบายความวิตกกังวล
การดูแลมารดาที่มีภาวะโภชนาการเกินในระยะหลังคลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และดูแลให้มารดาได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกเนื่องจากเสี่ยงต่อภาวะตกเลือดหลังคลอด
แนะนำมารดาให้มีการลุกเดินจากเตียง โดยเร็ว (early ambulation)
ส่งเสริมให้ทารกดูดนมแม่หลังคลอด โดยแนะนำให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนหลังจากนั้นให้อาหารเสริมตามวัยร่วมกับนมแม่จนกระทั่งอายุ 2 ปีหรือนานกว่านั้นซึ่งจะ มีผลดีทำให้ลดภาวะอ้วนในมารดา
แนะนำให้มารดาหลังคลอดลดน้ำหนักโดยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารออกกำลังกายระดับปานกลางอย่างน้อยสัปดาห์ละ 150 นาทีเป็นประจำเช่น เดินเร็ว การว่ายน้ำ หรือใช้อุปกรณ์ในการออกกำลังกาย
แนะนำให้สังเกตอาการติดเชื้อ เนื่องจากภาวะอ้วนเสี่ยงต่อการติดเชื้อของแผลได้ง่าย
การใช้ยาคุมกำเนิดควรปรึกษาแพทย์ก่อนถ้า ต้องการมีบุตรควรแนะนำให้ลดน้ำหนักก่อนตั้งครรภ์
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้ยาป้องกันการชักและยาลดความดันโลหิต (50% MgSO4 20 gm + nss 460 ml rate 50 ml/hr)
สังเกตุอาการดังต่อไปนี้ได้แก่
• ปัสสาวะออกน้อยกว่า 30 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง
• ปฏิกิริยา reflex ลดลง
• อัตราการหายใจ <14 ครั้งต่อนาที
• ความดันโลหิตที่ลดต่ำลงผิดปกติ
ถ้ามีอาการดังที่กล่าวต้องรายงานแพทย์ทันที
อธิบายถึงภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น เช่น อาการร้อนบริเวณที่ฉีดหรือทั่วตัว อาการคลื่นไส้อาเจียน
ประเมินสัญญาณชีพ เมื่อเริ่มให้ยาทุก 15 นาทีหลังจากนั้นทุก 1 ชั่วโมง
ติดตามระดับ Mg level ในเลือดหลังให้ยาโดยให้อยู่ในระดับ 4.8-8.4 mg/DL
จัดทำโดย
62105168 นูรมีน แตบาตู
62115761 หทัยภัทร คำพิชิต
62103643 ทิฆัมพร เพอสะและ
62105036 นินูรูลฮูดา นิกาเร็ง