Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 12 การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามหลักปรัชญา…
หน่วยที่ 12 การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
12.1 พัฒนาการภาคการเกษตรไทยภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
12.1.2 แนวคิดพระราชทานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการสมดุลและยั่งยืนของสังคมไทย
1 ความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2 องค์ประกอบของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.2 ความมีเหตุผล
2.3 ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
2.1 ความพอประมาณ
เงื่อนไขสำคัญ 1 เงื่อนไขคุณธรรม 2 เงื่อนไขหลักวิชา
12.1.3 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแนวทางสร้างภูมิคุ้มกันภาคการเกษตรไทย
ช่วงทศวรรษแรกแผนพัฒนาฉบับที่ 1-2
ช่วงทศวรรษที่ 2 แผนพัฒนาฉบับที่ 3-4
ช่วงทศวรรษที่ 3 แผนพัฒนาฉบับที่ 5-6
ช่วงทศวรรษที่ 4 แผนพัฒนาฉบับที่ 7-8
ช่วงทศวรรษที่ 5 แผนพัฒนาฉบับที่ 9-10
12.1.1 พัฒนาการภาคการเกษตรไทยตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
1 การเจริญเติบโตของภาคการเกษตรไทย
2 ปัจจัยการผลิตทางการเกษตรของประเทศไทย
2.2 ที่ดินทางการเกษตร
2.3 ความเข้มแข็งของเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร
2.1 ประชากรแรงงานภาคการเกษตร
3 ทรัพยากรธรรมชาติและโครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตร
3.3 พื้นที่ทำการเกษตร
3.4 แหล่งประมง
3.2 น้ำฝนและน้ำท่า
3.5 ความหลากหลายทางชีวภาพ
3.1 ทรัพยากรดิน
3.6 ระบบโลจิสติกส์
12.2 การจัดการทรัพยากรการเกษตรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
12.2.2 ระบบเกษตรยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1 ความหมายของระบบเกษตรยั่งยืน
2 รูปแบบระบบเกษตรยั่งยืนที่เหมาะสม
2.3 เกษตรธรรมชาติ
2.4 เกษตรทฤษฎีใหม่
2.2 เกษตรอินทรีย์
2.5 วนเกษตร
2.1 เกษตรผสมผสาน
12.2.3 ระบบการเกษตรทฤษฎีใหม่รูปธรรมของการจัดการทรัพยากรการเกษตรเพื่อส่งเสริมการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1 รูปธรรมของระบบการเกษตรทฤษฎีใหม่
2 ขั้นตอนทฤษฎีใหม่
ขั้นตอนที่ 3 ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า
ขั้นตอนที่ 2 ทฤษฎีใหม่
ขั้นตอนที่ 1 ทฤษฎีใหม่
12.2.1 การจัดการทรัพยากรการเกษตรกับมิติความพอเพียง
3 การประหยัดทางขอบข่าย
4 ความมั่นคงด้านอาหาร
5 การลงทุนและการออมในไร่นา
2 การบริหารความเสี่ยงและความไม่แน่นอน
1 การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด
12.3 การจัดการทรัพยากรในงานส่ง และพัฒนาการเกษตรเพื่อความยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
12.3.3 การประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการทรัพยากรในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรกรณีศึกษาจากเกษตรกรตัวอย่าง
1 ภาคเหนือนายแพทย์อภัยมูลจังหวัดเชียงใหม่ลักษณะเด่นในการจัดการทรัพยากร
3 ตลาดหลักคือชุมชนแม่ทาและชุมชนเมืองใกล้เคียง
4 ถ่ายทอดภูมิปัญญาและองค์ความรู้ผ่านกลุ่มและสร้างเครือข่าย
2 ผลผลิตหลักคือผักอินทรีย์
1 เน้นกระบวนการผลิตตามแนวทางระบบเกษตรอินทรีย์
2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือนายผายสร้อยสระกลางจังหวัดบุรีรัมย์ลักษณะเด่นในการจัดการทรัพยากร
2 มีการจัดการพื้นที่การเกษตรในไร่นาตามความเหมาะสมเพื่อลดความเสี่ยงจากปัจจัยภายนอก
3 สร้างผลผลิตที่หลากหลายจากไร่นาเพื่อความมั่นคงด้านอาหารในครัวเรือน
1 เน้นกระบวนการผลิตตามแนวทางระบบเกษตรผสมผสาน
4 ถ่ายทอดภูมิปัญญาและองค์ความรู้ผ่านกลุ่มและสร้างเครือข่าย
3 ภาคกลาง นายวิบูลย์ เข็มเจริญ จังหวัด ฉะเชิงเทรา/ ลักษณะเด่นในการจัดการทรัพยากร
2 เน้นการสร้างความหลากหลายของพันธุ์ไม้
3 สร้างกระบวนการเรียนรู้เรื่องเกษตร
1 เน้นกระบวนการจัดการทรัพยากรการเกษตรตามแนวทางระบบวรรณะเกษตร
4 ภาคใต้ นายประสงค์ รณรงค์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ลักษณะเด่นในการจัดการทรัพยากร
2 กระบวนการกลุ่มเพื่อการจัดการทรัพยากรชุมชน
3 เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนายางพาราไทย
1 เน้นกระบวนการจัดการทรัพยากรการเกษตรตามแนวทางระบบเกษตรผสมผสาน
4 เป็นผู้นำในการสร้างธุรกิจร่วมกันของเครือข่ายยมนา
5 เน้นแนวทางการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
12.3.4 การประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการทรัพยากรในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรกรณีศึกษาจากกลุ่มเกษตรกรกลุ่มออมทรัพย์ตำบลคลองเปียะจะนะจังหวัดสงขลา
1 สภาพทั่วไป
2 ความเข้มแข็งของชุมชนในมิติด้านธุรกิจชุมชน
3 ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเข้มแข็งของกองทุนออมทรัพย์ครองเปี๊ยะ
3.2 ความสามัคคีและการมีส่วนร่วมของชุมชน
3.3 ผู้นำชุมชน
3.1 การเรียนรู้ด้วยปัญญา
3.4 การบริหารจัดการ
12.3.2 การประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามบริบทภูมิสังคมที่แตกต่าง
7 การพัฒนาเกษตรแบบยั่งยืนเป็นกระบวนการที่ต้องใช้ระยะเวลา
2 ความแตกต่างในกระบวนการพัฒนาการเกษตร
3 ความสำคัญของการสร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
4 การพัฒนาการเกษตรจากฐานชุมชนเป็นหลัก
5 ความสมดุลของอุปทานและอุปสงค์ในการพัฒนาการเกษตร
6 ความเข้มแข็งของกลุ่มขึ้นอยู่กับการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและรัฐ
1 การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรต้องพิจารณาแนวคิดมากกว่าการมีเทคโนโลยีการเกษตร
12.3.1 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อความยั่งยืน
1 หลักการทรงงานว่าด้วยระเบิดจากข้างในไม่ติดตำราและภูมิสังคม
3 หลักการทรงงานว่าด้วยการมีส่วนร่วมและศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ
4 หลักการทรงงานว่าด้วยประโยชน์ส่วนรวม
2 หลักการทรงงานว่าด้วยทำตามลำดับขั้น
5 หลักการทรงงานว่าด้วยขาดทุนคือกำไรและรู้รักสามัคคี
การประยุกต์หลักการทรงงานเพื่อส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามบริบทภูมิสาคมที่แตกต่างกันโดยพิจารณาร่วมกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถสรุปประเด็นสำคัญดังต่อไปนี้
2 เปลี่ยนระบบกลไกการทำงานจากแนวคิดเร่งรัดการพัฒนาภาคการเกษตรเป็นกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจตามลำดับในขั้นตอนตามแนวทฤษฎีใหม่
3 เปลี่ยนโครงสร้างความสัมพันธ์มาเป็นลักษณะแบบพันธมิตรเน้นการทำงานแบบมีส่วนร่วมเรียนรู้ร่วมกัน
1 เป็นแนวทางการแก้ปัญหาจากการที่เน้นการพึ่งพาทุนมาเป็นพยายามพึ่งพาตนเองก่อน
4 เปลี่ยนเป้าหมายในการพัฒนาสังคมจากการเร่งสร้างรายได้และความมั่งคั่งมาเป็นการสร้างความสุขและความมั่นคงของบุคคลชุมชนสังคม
5 เปลี่ยนอุดมการณ์แห่งความคิดจากการสร้างความพอใจสูงสุดจากการได้รับเพิ่มขึ้นมาเป็นการสร้างความสุขความพอใจจากการได้ให้ผู้อื่น
12.3.5 ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการจัดการทรัพยากรในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1 การพัฒนาการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต้องพิจารณามากกว่าการมีเทคโนโลยีการเกษตรโดยยึดหลักการของแนวคิดระบบเกษตรยั่งยืน
2 ความแตกต่างในกระบวนการพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนการวางแผนการพัฒนาเกษตรแบบยั่งยืนจะต้องตระหนักถึงเป้าหมายสุดท้าย
3 ความสำคัญของการสร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
4 การพัฒนาการเกษตรจากฐานชุมชนเป็นหลัก
5 ความสมดุลของอุปทานและอุปสงค์ในการพัฒนาการเกษตร
6 ความเข้มแข็งของกลุ่มขึ้นอยู่กับการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและรัฐ
7 การพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนเป็นกระบวนการที่ต้องใช้ระยะเวลา