Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมการเกษต…
หน่วยที่ 9 มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมการเกษตร
9.1 ความสัมพันธ์ทางเศรษฐศาสตร์ระหว่างมนุษย์และทรัพยากร
9.1.2 การเกษตรและผลกระทบจากการใช้ทรัพยากร
ระบบปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
1 ปัจจัยการผลิต
แรงงาน
ที่ดิน
ทุน
การจัดการทรัพยากรทางการเกษตรในระบบการผลิต
2 กระบวนการผลิต
3 ผลผลิต
1 หลักการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการผลิตทางการเกษตรควรพิจารณาจากคุณค่าการใช้ประโยชน์ของทรัพยากรนั้นมากกว่าจะใช้ราคาตลาดของทรัพยากร
2 ความจำกัดของทรัพยากรธรรมชาติ
3 ค่าเช่าของทรัพยากรธรรมชาติ
4 ต้นทุนในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
ผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรทางการเกษตร
2 ผลกระทบด้านสังคม
2.1 ต้นทุนภายนอกด้านสังคม
2.2 ผลประโยชน์ภายนอกด้านสังคม
1 ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบภายนอกผลกระทบในแง่ลบที่เรียกว่าต้นทุนภายนอก
ผลกระทบในแง่บวกหรือที่เรียกว่าผลประโยชน์ภายนอก
9.1.3 เศรษฐศาสตร์และแนวคิดในการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
แนวคิดโดยทั่วไปของการพัฒนาที่ยั่งยืนคือแนวทางการพัฒนาที่มุ่งสร้างความผาสุกแก่มนุษย์ในรุ่นปัจจุบันโดยไม่บั่นทอนความผาสุกของมนุษย์ในรุ่นอนาคต (World Commission on environment and development,1987) มิติในการพิจารณาความยั่งยืนของการใช้ทรัพยากร
2 การพิจารณาทางด้านสิ่งแวดล้อม
3 การพิจารณาด้านเศรษฐศาสตร์
1 การพิจารณาทางด้านกายภาพ
4 การพิจารณาด้านสังคม
4.1 ด้านความยุติธรรมในสังคม
4.2 ด้านความเป็นมนุษย์
5 การพิจารณาด้านอื่นๆ
9.1.1 มนุษย์ในระบบนิเวศเศรษฐกิจและสังคม
มนุษย์และสภาพแวดล้อม
2 ระบบเศรษฐกิจ
3 ระบบสังคม
1 ระบบนิเวศ
การตัดสินใจของเกษตรกร
2 ความเป็นไปได้ทางระบบเศรษฐกิจ
3 ความเป็นไปได้ทางระบบสังคม
1 ความเป็นไปได้ด้านระบบนิเวศ
ระบบเศรษฐกิจของภาคเกษตรกรรม
1 มิติเศรษฐกิจจุลภาค
2 มิติเศรษฐกิจมหภาค
9.2 หลักการทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากร
9.2.2 การจัดการด้านอุปทานทรัพยากร
นัยยะสำคัญของการจัดการด้านอุปทานทรัพยากรก็คือการจัดการด้านการผลิต
ปัจจัยที่มีผลต่ออุปทานทรัพยากร
1 ราคาเสนอขายทรัพยากร
2 ต้นทุนการได้มาซึ่งทรัพยากร
3 ผลกระทบภายนอก
4 เทคโนโลยี
5 การใช้ทรัพยากรทดแทน
6 การนำเข้าทรัพยากร
9.2.3 การจัดการด้านอุปสงค์ทรัพยากร
นัยยะสำคัญของการจัดการด้านอุปสงค์ทรัพยากรก็คือการจัดการด้านการบริโภค
ปัจจัยที่มีผลต่ออุปสงค์ทรัพยากร
3 ประชากร
4 ทศนิยมและค่านิยม
5 วิถีชีวิต
2 รายได้
1 ราคาเสนอซื้อทรัพยากร
9.2.1 มิติทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการ
การประยุกต์หลักเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากร
1 การจัดแบ่งทรัพยากรตามสภาพการคงอยู่
1.1 ทรัพยากรที่ไม่สามารถเสริมสร้างขึ้นมาใหม่ได้
1.2 ทรัพยากรที่สามารถเสริมสร้างขึ้นมาใหม่ได้
2 การจัดแบ่งทรัพยากรตามการใช้ประโยชน์
2.2 ทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่หมดไป
2.3 ทรัพยากรที่ใช้แล้วทดแทนได้
2.1 ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป
หลักการทางเศรษฐกิจของระบบตลาดหรือการตัดสินใจในการใช้ประโยชน์ที่
P=MC + MEC ,P =MSC
Tax = MEC
P = MC
ระบบตลาดล้มเหลว คือ ราคาไม่สามารถสะท้อนให้เห็นต้นทุนที่แท้จริงระดับภาษีสิ่งแวดล้อม
มาตรการด้านภาษีของรัฐเป็นมาตรการในเชิงบังคับหรือเกิดจากแนวทางไม่สมัครใจของผู้บริโภคที่จะต้องจ่ายออกไปจึงนับว่าเป็นทางออกที่ดีอันดับ 2
หากเกษตรกรและผู้บริโภคสามารถทำความเข้าใจถึงประโยชน์ในการใช้ทรัพยากรในการผลิตสินค้าและผลกระทบภายนอกที่เกิดขึ้นทุกฝ่ายรับผิดชอบผ่านระบบราคาได้โดยแนวทางสมัครใจนับเป็นทางออกที่ดีที่สุดเป็นอันดับ 1 แนวทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากร 1 แนวทางในการจัดหาทรัพยากร
9.2.4 การจัดการด้านนโยบายเศรษฐกิจ
เครื่องมือทางนโยบายเศรษฐกิจของรัฐ
นโยบายทางการเงิน
นโยบายทางการคลัง
นัยยะสำคัญของการใช้นโยบายการคลัง
1 การใช้ระบบภาษี
2 การใช้การช่วยเหลืออุดหนุน
ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้นโยบายการคลัง
2 การบริโภคที่มีเหตุผล
3 กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของรัฐ
1 กลไกราคาและตลาด
9.2.5 การจัดการด้านสถาบัน
นัยยะสำคัญของการจัดการด้านสถาบันสถาบันที่สำคัญทางการจัดการทรัพยากร
2 กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวกับการจัดการผลกระทบภายนอกอันเกิดจากการใช้ทรัพยากร
3 องค์กรและโครงสร้างองค์กร
1 กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวกับการจัดสรรใช้ประโยชน์ทรัพยากร
4 สถาบันทางความคิดในสังคม
ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้นโยบายการคลัง
2 ความชัดเจนด้านกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
3 การบังคับใช้กฎหมาย
1 สังคมแห่งองค์ความรู้
4 การปฏิรูปอย่างเป็นระบบ
9.3 การประยุกต์ใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์
9.3.3 เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ที่มีการนำมาใช้ในประเทศไทย
1 เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ที่มีกำหนดไว้ในกฎหมาย
1.1 กฎหมายที่เน้นแสวงหาผลประโยชน์หรือรายได้จากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
1.2 กฎหมายที่เน้นอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและจัดการปัญหามลพิษ
2 เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ที่มีการประยุกต์ใช้จริง
9.3.4 ปัญหาการ เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรการเกษตร
1 สรุปประเด็นปัญหาในความเข้าใจทางเศรษฐศาสตร์ของการจัดการทรัพยากรการเกษตร
3 ปัญหาความพร้อมทางวิชาการระดับมหภาค
4 ปัญหาโครงสร้างระบบภาษีของประเทศไทย
2 ปัญหาด้านระบบฐานข้อมูลการผลิตระดับจุลภาค
5 ปัญหาผลกระทบของการบังคับใช้ต่อภาคการผลิต
6 ปัญหาผลกระทบของการบังคับใช้ในด้านการเมือง
7 ปัญหาข้อสมมติของการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
9.3.2 ประเภทของเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ระดับจุลภาค
1 ระบบมาตรฐานการผลิตการเกษตรที่ดี
4 ระบบหลักวิเคราะห์และควบคุมจุดวิกฤตและอันตรายHACCP
5 ระบบมาตรฐาน ISO 9000
3 ระบบมาตรฐาน codex
2 ระบบมาตรฐานสินค้าเกษตร
9.3.1 ประเภทของเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ระดับมหภาค
1 สิทธิในการใช้ประโยชน์
4 ค่าธรรมเนียม
5 มาตรการทางการเงิน
3 มาตรการด้านภาษี
2 ตลาดการซื้อขายสิทธิในการใช้ประโยชน์
6 ระบบมัดจำและการค้ำประกัน