Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร -…
หน่วยที่ 7 องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
7.1 องค์กรเกษตรกรและองค์กรประชาชนกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
7.1.1 องค์กรเกษตรกรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
ความหมายและความสำคัญขององค์กรเกษตรกร
1 ความหมายขององค์กรเกษตรกร กฎเกณฑ์ในการตรวจสอบ 4 ประการ
2 เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของเกษตรกร
3 มีความเป็นอิสระ
1 เกิดจากสำนึกร่วมกันของเกษตรกร
4 มีความมีระเบียบวินัย
2 ความสำคัญขององค์กรเกษตร การมีส่วนร่วมในการพัฒนารัฐบาลมีความจำเป็นที่จะต้องส่งเสริม
3 เพื่อปลูกฝังให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานพัฒนาท้องถิ่นของตนเองและประเทศชาติ
4 เพื่อเป็นแนวทางที่จะให้ประชาชนได้ช่วยเหลือตนเองในด้านต่างๆเพื่อยกเลิก กับรายได้และการครองชีพของประชาชน
2 เพื่อเป็นหน่วยรองรับบริการทางวิชาการที่รัฐและองค์กรต่างๆจะจัดหาให้ดังนั้นส่วนราชการต่างๆที่เกี่ยวข้องจะต้องเข้าดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งองค์กรหรือกลุ่มต่างๆในชนบท
5 เพื่อเป็นการสร้างความรักความสามัคคีกลมเกลียวของประชาชนในท้องถิ่นชนบท
1 เพื่อให้กลุ่มประชาชนเป็นตัวแทนของประชาชนในชุมชนนั้นๆมาร่วมดำเนินการพัฒนากับภาครัฐบาลเป็นแกนนำในการพัฒนาชนบท
6 เพื่อให้ประชาชนดำเนินการด้านต่างๆเพื่อแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชนหรือชุมชน
ประเภทและบทบาทขององค์กรเกษตรกร
1 ประเภทขององค์กรเกษตรกร
1.1 องค์กรเกษตรกรแบบเป็นทางการ
1.2 องค์กรเกษตรกรแบบไม่เป็นทางการ
นอกจากนี้องค์กรเกษตรกรยังสามารถจำแนกตามลักษณะต่างๆ
3 จำแนกตามกิจกรรมขององค์กร
4 จำแนกตามระดับของขอบเขตการดำเนินงาน
2 จำแนกตามลักษณะการก่อเกิด
1 การจำแนกตามวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง
5 จำแนกตามโครงสร้างขององค์กร
2 บทบาทขององค์กรเกษตรกร
2.2 เป็นอำนาจแห่งการต่อรอง
2.3 เป็นศูนย์กลางแห่งการสะสมทุนของชุมชน
2.1 เป็นเวทีแห่งการเรียนรู้วิเคราะห์ปัญหาของกลุ่มและชุมชน
กรณีตัวอย่างองค์กรเกษตรกรกับการจัดการทรัพยากร
2 สมัชชาชาวประมงพื้นบ้านอันดามัน
2.3 โครงสร้าง
2.4 แนวทางการดำเนินงาน
2.2 วัตถุประสงค์
2.5 ผลการดำเนินงาน
2.1 ประวัติ
2.6 แนวทางการพัฒนาสมรรถนะชาวประมงพื้นบ้านอันดามัน
1 องค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน
1.1 ความหมายและประเภทขององค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน ตามสถานภาพทางกฎหมาย
1.1.1 ประเภทไม่เป็นนิติบุคคล
1 กลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานกลุ่มระดับท่อแฉกส่งน้ำ
2 กลุ่มบริหารการใช้น้ำชลประทาน
1.1.2 ประเภทมีสถานภาพเป็นนิติบุคคล
1 สมาคมผู้ใช้น้ำชลประทาน
2 สหกรณ์ผู้ใช้น้ำชลประทาน
1.2 การพัฒนาองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน
ขั้นที่ 2 เมื่อผู้ใช้น้ำเข้าใจบทบาทดีแล้วจะมีการพัฒนารวมกลุ่มผู้ใช้น้ำ
ขั้นที่ 3 เมื่อคณะกรรมการขององค์กรและเกษตรกรในขั้นที่ 2 เข้าใจวิธีการดำเนินการตามบทบาทแล้วและมีความต้องการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลจึงพัฒนาเป็นขั้นที่ 3 คือจดทะเบียนเป็นสมาคมผู้ใช้น้ำหรือสหกรณ์ผู้ใช้น้ำชลประทานต่อไป
ขั้นที่ 1 เริ่มต้นจากหน่วยเล็กที่สุด
1.3 บทบาทและความรับผิดชอบขององค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน
3 กำหนดหลักเกณฑ์
4 เป็นศูนย์รวมของเกษตรกรผู้ใช้น้ำ
2 ควบคุมดูแลการส่งน้ำระบายน้ำในระดับคลองคูน้ำ
1 การบริหารการส่งน้ำและบำรุงรักษาโครงการชลประทาน
1.4 กิจกรรมขององค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน
1.4.3 กิจกรรมด้านอื่นๆ
1.4.2 การบริหารองค์กรผู้ใช้น้ำ
1.4.1 การบริหารการส่งน้ำ
1.5 โครงสร้างการบริหารองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน
ส่วนที่ 2 การประชุมใหญ่สมาชิก
ส่วนที่ 3 ผู้ตรวจสอบกิจกรรมขององค์กรผู้ใช้น้ำ
ส่วนที่ 1 คณะกรรมการบริหารองค์กรผู้ใช้น้ำ
วิเคราะห์องค์กรเกษตรกร
4 การบริหารจัดการองค์กรผู้นำส่วนใหญ่เป็นอาสาสมัคร
5 ในหลายองค์กรการสื่อสารกับสมาชิกไม่ทั่วถึง
3 การดำเนินการขององค์กรส่วนใหญ่ยังคงต้องอาศัยการสนับสนุนจากภายนอก
6 การเคลื่อนไหวผลักดันรณรงค์ขององค์กรหลายกรณีสังคมอาจจะไม่เข้าใจ
2 ผู้นำบางองค์กรไม่เข้มแข็ง
7 การเชื่อมโยงองค์กรเกษตรกรในระดับกว้างคือระดับเครือข่ายยังทำได้น้อย
1 บางองค์กรขาดความเป็นอิสระในการบริหาร
7.1.2 องค์กรประชาชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
ความหมายและความสำคัญขององค์กรประชาชน
1 ความหมายขององค์กรประชาชน คือ การรวมตัวกันของภาคสังคมหรือภาคประชาชนไม่ว่าจะเป็นใครก็ตามแต่มารวมตัวกันมีวัตถุประสงค์ร่วมกันมีอุดมคติร่วมกันและมีความเอื้ออาทรมีมิตรภาพมีการสื่อสารกันมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันและมีระบบการจัดการในกลุ่มเพื่อนำไปสู่สังคมที่มีความเข้มแข็งบนฝ่าสำนึกสาธารณะหรือจิตสำนึกเพื่อส่วนรวม
2 ความสำคัญขององค์กรประชาชน
2 สังคมทำหน้าที่จัดตั้งบนพื้นฐานหลักการองค์กรประชาชน
3 องค์กรประชาชนไม่ใช่ของใหม่ในประวัติศาสตร์
1 การพัฒนาที่มุ่งเน้นตัวประชาชน
4 การจัดตั้งองค์กรประชาชนจะทำให้ประชาชนสามารถวางแผนได้อย่างเป็นระบบในการสนองความต้องการพื้นฐาน
ประเภทและบทบาทขององค์กรประชาชน
1 ประเภทขององค์กรประชาชน
1.3 พิจารณาจากลักษณะของกิจกรรม
1.4 พิจารณาจากความหลากหลายในเชิงประเด็น
1.2 พิจารณาจากการรวมตัว
1.5 พิจารณาจากกระบวนการทางประชาสังคม
1.1 พิจารณาจากรูปแบบพื้นที่
2 บทบาทขององค์กรประชาชน
กรณีตัวอย่างองค์กรประชาชนกับการจัดการทรัพยากร
1 ประชาคมเมืองอุทัยระดับจังหวัด
2 ประชาคมตำบลแจ้งใหญ่ระดับตำบล
วิเคราะห์องค์กรประชาชน
4 องค์กรประชาชนเป็นการรวมตัวของประชาชนที่หลากหลาย
5 การรวมตัวของประชาชนทำให้บุคคลจากหลายฝ่ายหลายกลุ่มได้มีการร่วมเรียนรู้ร่วมกันมีการถ่ายเทประสบการณ์การประสานพลัง
3 การประสานงานเชื่อมโยงสื่อสารและการจัดการเวลาที่เหมาะสม
6 องค์กรประชาชนบางองค์กรขาดความต่อเนื่องในการดำเนินการ
2 องค์กรประชาชนนั้นผู้ที่มาร่วมกันจะมีสำนึกความตั้งใจและความสนใจในประเด็นนั้นๆร่วมกัน
7 ในการเคลื่อนไหวขององค์กรประชาชนในประเด็นสาธารณะบางประเด็นอาจจะมีความขัดแย้งกับการปฏิบัติงานของภาครัฐ
1 การรวมตัวกันขององค์กรประชาชนเกิดขึ้น ประชาชนที่หลากหลาย
7.2 องค์กรรัฐองค์กรรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชนกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
7.2.1 องค์กรรัฐที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
ความหมายขององค์กรรัฐ คือองค์กรที่จัดตั้งขึ้นโดยมีพระราชบัญญัติกฎหมายกฎระเบียบของประเทศของกระทรวงและกรมซึ่งเป็นสถาบันทางราชการเป็นตัวกำหนดการจัดตั้งมีองค์ประกอบการดำเนินงานหรือกิจกรรมทุกอย่างต้องอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายกฎระเบียบที่กำหนดขึ้นไว้เป็นการเฉพาะขององค์กรนั้น
ความสำคัญขององค์กรรัฐ เป็นองค์กรหลักในการดำเนินการปฏิบัติการพัฒนาหรือเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรต่างๆ รวมถึงเป็นองค์กรที่สำคัญในการส่งเสริมสนับสนุนให้องค์กรต่างๆได้ดำเนินการในการจัดการทรัพยากรตามบทบาทหน้าที่หรือตามวัตถุประสงค์ขององค์กรนั้นอย่างเต็มที่
ประเภทและบทบาทขององค์กรรัฐ
1 ประเภทขององค์กรรัฐ
1.2 การบริหารราชการส่วนภูมิภาค
1.3 การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
1.1 การบริหารราชการส่วนกลาง
2 บทบาทขององค์กรรัฐ
กรณีตัวอย่างองค์กรรัฐที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากร
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1 วิสัยทัศน์
2พันธกิจ
3 ยุทธศาสตร์
3.1 ยุทธศาสตร์โดยรวม
3.2 ประเด็นยุทธศาสตร์
กรมพัฒนาที่ดิน
2 พันธกิจ
3 ประเด็นยุทธศาสตร์
1 วิสัยทัศน์
4 เป้าประสงค์หลัก
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
3 ภารกิจหลัก
2 พันธกิจ
1 วิสัยทัศน์
4 ยุทธศาสตร์หน่วยงาน
5 การแบ่งส่วนราชการ
วิเคราะห์องค์กรรัฐ
3 ด้านการบริหารงานจ่ายกรณีหลายองค์กรยังเน้นการทำงานแบบสั่งการ
4 ด้านการสนับสนุน
2 ด้านเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่ได้ปรับบทบาทและปรับปรุงตนเองบางส่วนขาดประสิทธิภาพในการทำงาน
5 ด้านการเมืองนโยบายที่ไม่ต่อเนื่องไม่ชัดเจน
1 ด้านระบบและวิธีการทำงานที่ขาดการวางระบบการกำหนดนโยบายเป้าหมายและยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรที่ชัดเจนและต่อเนื่อง
7.2.2 องค์กรรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรรัฐวิสาหกิจ
องค์กรรัฐวิสาหกิจ หมายถึง บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งทุนทั้งสิ้นเป็นของกระทรวงทบวงกรมในรัฐบาลหรือกระทรวงทบวงกรมในรัฐบาลมีทุนรวมอยู่ด้วยเกินกว่าร้อยละ 50 หรือบริษัทหรือหุ้นส่วนห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลใดๆที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลดังกล่าวข้างต้นมีทุนรวมอยู่ด้วยเกินกว่าร้อยละ 50 รวมถึงองค์กรของรัฐบาลหรือหน่วยงานธุรกิจที่รัฐบาลเป็นเจ้าของและรวมตลอดถึงบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลใดๆที่องค์กรของรัฐบาลหรือหน่วยงานธุรกิจของรัฐบาลมีทุนรวมอยู่ด้วยเกินกว่าร้อยละ 50
ความสำคัญ
3 ความต้องการของรัฐบาลเองที่จะเข้าแทรกแซงควบคุมวิสาหกิจ
4 นโยบายทางสังคมโดยทั่วๆไปซึ่งมีจุดหมายเพื่อสวัสดิภาพของสังคม
2 ปรัชญาทางการเมือง
5 ปัจจัยต่างๆอันเกิดจากสถานการณ์พิเศษเฉพาะ
1 การขาดแคลนเงินลงทุนทางภาคเอกชน
2 ประเภทและบทบาทขององค์กรรัฐวิสาหกิจ
2.1 ประเภทขององค์กรรัฐวิสาหกิจ
2.2 บทบาทขององค์กรรัฐวิสาหกิจ
3 กรณีตัวอย่างองค์กรรัฐวิสาหกิจกับการจัดการทรัพยากร
3.2 โครงสร้างองค์กร
3.3 การวิเคราะห์องค์กรรัฐวิสาหกิจ
3.1 วัตถุประสงค์และนโยบาย
3.4 การดำเนินงานภายใต้ข้อตกลงต่างๆในโลกการค้าเสรีทำให้องค์กรรัฐวิสาหกิจจะทำงานได้ลำบากขึ้น
องค์การมหาชน
คือหน่วยงานของรัฐประเภทที่ 3 นอกเหนือจากส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจเริ่มตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชนพ.ศ 2542
ความสำคัญ ขององค์การมหาชนเป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นเพื่อให้เกิดความคล่องตัวและมีการใช้ประโยชน์ในทรัพยากรและบุคลากรให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
ประเภทและบทบาทขององค์การมหาชน
2.1 ประเภทขององค์การมหาชน
2.2 บทบาทขององค์การมหาชน
กรณีตัวอย่างองค์การมหาชนกับการจัดการทรัพยากร
3.3 พันธกิจ
3.2 วิสัยทัศน์
3.1 วัตถุประสงค์
3.4 ยุทธศาสตร์และเป้าหมาย
วิเคราะห์องค์การมหาชน
3 ในการดำเนินการภารกิจขององค์การจะกระทำการอันเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
4 จุดมุ่งหมายในการดำเนินการมิได้ค้ากำไร
2 องค์การมหาชนจะมีความเป็นอิสระและความคล่องตัว
5 องค์การมีวัฒนธรรมองค์กรเหมือนภาคธุรกิจในการทำงานองค์การมีบทบาทในการบูรณาการ
1 องค์การจะดำเนินการตามบทบาทที่กฎหมายกำหนด
7.3 องค์กรธุรกิจเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชนกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
7.3.1 องค์กรธุรกิจเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
องค์กรธุรกิจเอกชน
คือการที่เอกชนหรือกลุ่มของเอกชนซึ่งประกอบด้วยผู้ถือหุ้นรวมกันเป็นเจ้าของธุรกิจเอกชน
มีความสำคัญต่อการจัดการทรัพยากรทั้งในส่วนที่เกี่ยวข้องโดยตรงที่องค์กรต้องมีความรับผิดชอบและระมัดระวังในการดำเนินการใดๆ รวมถึงหลายองค์กรยังมีส่วนสำคัญในการส่งเสริมการสร้างความรู้ความเข้าใจความตระหนักต่อสังคมและยังมีส่วนสนับสนุนองค์กรเกษตรกรองค์กรประชาชนและร่วมมือกับองค์กรต่างๆ
ประเภทและบทบาทขององค์กรธุรกิจเอกชน
1 ประเภทขององค์กรธุรกิจเอกชน
2 องค์กรธุรกิจที่มีลักษณะเป็นห้างหุ้นส่วน
3 บริษัท
1 องค์กรธุรกิจที่มีเจ้าของคนเดียว
2 บทบาทขององค์กรธุรกิจเอกชน
4 ส่งเสริมการลงทุนในธุรกิจต่างๆ
5 การส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่เกษตรกรและชุมชน
6 การสนับสนุนปัจจัยการผลิตต่างๆ
3 ประสานงานด้านการตลาดและการส่งออกให้แก่ประเทศ
2 เป็นแหล่งรองรับผลผลิต
1 ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรในการปรับปรุงระบบการผลิต
7 การวิจัยและพัฒนา
กรณีตัวอย่างองค์กรธุรกิจเอกชนกับการจัดการทรัพยากร
กรณีของบริษัทสวนป่าไทยสโตร่า จำกัด
2 แนวทางการจัดการสวนป่า
2.2 การปรับปรุงพันธุ์ไม้
2.1 การจัดการที่เข้มข้น
3 การดำเนินกิจกรรมของสวนป่า
1 วัตถุประสงค์ของสวนป่า
วิเคราะห์องค์กรธุรกิจเอกชน
3 องค์กรธุรกิจจะมีความตื่นตัวสนใจในการวิจัย ทนายอยู่เสมอเพื่อความอยู่รอดขององค์กร
4 การดำเนินงานและการบริหารงานในเชิงธุรกิจทำให้องค์กรต้องมีการดำเนินงานที่รวดเร็วและการตัดสินใจภายใต้มุมมองทางธุรกิจ
2 องค์กรจะดำเนินการเฉพาะจุดเฉพาะพื้นที่เท่านั้น
5 การดำเนินงานในเชิงธุรกิจอาจทำให้สังคมหรือสาธารณะตั้งคำถามตอบอุปกรณ์หรือมีข้อสงสัยในการดำเนินงาน
1 เนื่องจากองค์กรมีเป้าหมายในกำไรของธุรกิจในบางกรณีอาจมีจุดอ่อนในการส่งเสริมหรือการให้ข้อมูลแก่เกษตรกรหรือสาธารณะอย่างครบถ้วนรอบด้าน
7.3.2 องค์กรพัฒนาเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
ความหมายและความสำคัญขององค์กรพัฒนาเอกชน 1 เป็นองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรเป็นอย่างมากองค์กรหนึ่ง
ลักษณะสำคัญ1 มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินงานพัฒนาสังคม 2 จะจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลหรือไม่ก็ได้ 3 ดำเนินการโดยอิสระมีกิจกรรมต่อเนื่องและไม่แสวงหาผลประโยชน์หรือค้ากำไร
2 ความสำคัญ มีส่วนสำคัญในการพัฒนาสังคม โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรหรือกลุ่มคนด้อยโอกาสอื่นๆและเป็นองค์กรที่จะมีส่วนเสริมงานที่ภาครัฐหรือส่วนอื่นๆดำเนินการได้ไม่ทั่วถึง
ประเภทและบทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชน
1 ประเภทขององค์กรพัฒนาเอกชน
1.1 การแบ่งประเภทขององค์กรพัฒนาเอกชนตามบทบาทการทำงาน
4 องค์กรที่เป็นร่มหรือองค์กรเครือข่าย
3 องค์กรสนับสนุน
2 องค์กรพัฒนาเอกชนที่ทำงานเสริมความเข้มแข็งให้กับประชาชน
1 องค์กรพัฒนาเอกชนประเภทให้การบริการ
1.2 การแบ่งประเภทองคืกรพัฒนาเอกชนตามกลุ่มเนื้อหางาน
1 องค์กรพัฒนาเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม
2 องค์กรพัฒนาเอกชนด้านการเกษตร
3 องค์กรพัฒนาเอกชนด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
4 องค์กรพัฒนาเอกชนด้านชนกลุ่มน้อย
5 องค์กรพัฒนาเอกชนด้านการศึกษา
6 องค์กรพัฒนาเอกชนด้านสิทธิมนุษยชน
2 บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชน
1 การนำเสนอทางเลือกทางออกให้กับสังคมในเรื่องต่างๆ
2 การตั้งคำถามตรวจสอบเพื่อให้เกิดการทบทวน
กรณีตัวอย่างองค์กรพัฒนาเอกชนกับการจัดการทรัพยากร
3 การดำเนินงานของมูลนิธิ
4 คณะกรรมการมูลนิธิ
2 วัตถุประสงค์ขององค์กร
1 ความเป็นมาของมูลนิธิเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
5 โครงการภายใต้มูลนิธิ
วิเคราะห์องค์กรพัฒนาเอกชน
2 ในการดำเนินงานขององค์กรพัฒนาเอกชนจะดำเนินการได้ในพื้นที่จำกัด
3 การประสานงานระหว่างองค์กรพัฒนาเอกชนกับภาครัฐหลายกรณีจะเป็นการเผชิญหน้ามากกว่าการร่วมมือกัน
1 องค์กรพัฒนาเอกชนที่ดำเนินงานอยู่ในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นองค์กรขนาดเล็กขาดความมั่นคงทำให้การดำเนินงานไม่ต่อเนื่อง
4 อคติของสาธารณชนต่อองค์กรในปัจจุบันเจตคติของสาธารณชนบางส่วนต่อองค์กรพัฒนาเอกชนอย่างเป็นไปในทางลบ
5 องค์กรพัฒนาเอกชนส่วนใหญ่ในประเทศไทยยังคงต้องได้รับการสนับสนุนด้านทุน
6 การดำเนินงานขององค์กรพัฒนาเอกชนซึ่งส่วนใหญ่จะกระทบกับผู้มีอิทธิพลและ ให้เกิดผู้สูญเสียผลประโยชน์
7 เนื่องจากกฎการก่อตั้งองค์กรพัฒนาเอกชนสามารถก่อตั้งได้ง่ายโดยกลุ่มผู้มีความสนใจจะดำเนินงานพัฒนาทำให้มีองค์กรพัฒนาเอกชนเกิดขึ้นมาก
7.4 องค์กรต่างประเทศและระหว่างประเทศและความเชื่อมโยงระหว่างองค์กรในการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
7.4.1 องค์กรต่างประเทศและระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
ความหมายและความสำคัญขององค์กรต่างประเทศและระหว่างประเทศ
องค์กรต่างประเทศจากประเทศใดประเทศ อาจเป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยรัฐบาลหรือเอกชนและมีบทบาทในการจัดการทรัพยากรในประเทศอื่นๆ องค์กรระหว่างประเทศเป็นองค์กรที่เกิดจากหลายประเทศร่วมมือร่วมกันก่อตั้งขึ้น อาจมีทางที่จำกัดจำนวนสมาชิกหรือไม่จำกัดจำนวนสมาชิก อาจจะเข้าร่วมกันอย่างรั้วหรือมีความสัมพันธ์ผูกพันกันอย่างใกล้ชิดหรือเข้ามาร่วมกันเพื่อจุดประสงค์เฉพาะอย่างหรือเป็นประเทศที่มีสภาวะทางเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ยุทธศาสตร์หรือภูมิศาสตร์ร่วมกันก็ได้
2 ความสำคัญมีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาและจัดการทรัพยากรโดยเฉพาะบทบาทต่อประเทศกำลังพัฒนาที่จะมีส่วนส่งเสริมสนับสนุนทั้งบุคลากรเทคโนโลยีดูแลควบคุมรักษาทรัพยากรของแต่ละประเทศให้ยั่งยืน
ประเภทและบทบาทขององค์กร
1 ประเภทขององค์กรต่างประเทศและระหว่างประเทศ
1.1 องค์กรที่จัดตั้งโดยรัฐ
1.1.1 องค์กรต่างประเทศ
1.1.2 องค์กรระหว่างประเทศ
1.2 องค์กรที่จัดตั้งโดยภาคเอกชน
2 บทบาทขององค์กรต่างประเทศและระหว่างประเทศ
2.1 บทบาทหลักในการให้ทุน
2.2 บทบาทหลักในการปฏิบัติการพัฒนาหรือจัดการทรัพยากร
กรณีตัวอย่าง
1Ashoka
2 RECOFTC
วิเคราะห์การวิเคราะห์องค์กรต่างประเทศและระหว่างประเทศ
3 กรอบทิศทางในการทำงานบางครั้งอาจไม่สอดคล้องกัน
4 ความจริงใจและจริงจังในการทำงานกับองค์กรภายในและชุมชนท้องถิ่น
2 ทัศนะในการมององค์กรต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ
5 การทำงานขององค์กรต่างประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศมักจะทำงานในภาพกว้าง
1 ความต่อเนื่องในการดำเนินงาน
6 องค์กรต่างประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศจะมีวัตถุประสงค์หลักเกณฑ์ในการให้ความช่วยเหลือหรือการดำเนินงานเฉพาะขององค์กร
7.4.2 ความเชื่อมโยงระหว่างองค์กรในการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
7.4.2 ความสัมพันธ์เชื่อมโยงขององค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรในการส่งเสริมการเกษตร
1 การเชื่อมโยงในมิติงานด้านต่างๆ
2 การเชื่อมโยงในมิติบทบาทการปฏิบัติงานการส่งการสนับสนุนซึ่งกันและกัน