Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิจัยเชิงคุณภาพ กับแนวคิดปรากฏการณ์นิยม, ู, MS.LOTCHANA NONPASITH…
การวิจัยเชิงคุณภาพ
กับแนวคิดปรากฏการณ์นิยม
การวิจัยเชิงคุณภาพ
Qualitative Research
การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็ นการวิจัยที่ทำในสถานการณ์ที่เป็ น ธรรมชาติ ใช้วิธีการศึกษาและเครื่องมือในเก็บข้อมูลที่หลากหลาย.
รุปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
ปรากฏการณ์วิทยา
การวิจัยเชิงชีวประวัติบุคคล
ชาติพันธุ์วรรณนา
PAR
การศึกษาเฉพาะกรณี (case studies)
วิธีการเชิงประวัติศาสตร์
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ AR
ลักษณะของการวิจัยเชิงคุณภาพ
ทำความเข้าใจในมุมมองของผู้กระทำ
-ยอมรับอัตวิสัยของผู้ที่ถูกศึกษา
มุ่งทาความเข้าใจพฤติกรรมและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมภายใน บริบทต่างๆ
วิเคราะห์เรื่องราวและชีวิตทางสังคมที่มีบุคคลเป็ นผู้กระทำและ เป็ นผู้ที่ปรับเปลี่ยนไปตามเงื่อนไขของเวลาและสถานการณ์
ข้อเดั่นของการวิจัยเชิงคุณภาพอยู่ที่การพรรณนารายละเอียด ของสิ่งที่ศึกษา
Phenomenology
การกำหนดโจทย
ความรู้สึกประสบการณ์ มนุษย์ ที่มีการเชื่อมโยงกับบริบทของสังคม
การทบทวน วรรณกรรมที่
เกี่ยวข้อง
เพื่อพิสูจน์ท าความเข้าใจ และ/ หรือสร้างทฤษฎี
การก าหนดตัวแปร
นิยามตัวแปรกว้างๆ
การออกแบบเครื่องมือ
เน้นเครื่องมือที่สามารถดึงข้อมูลเชิงลึก
กรอบแนวคิด
กำหนดอย่างคร่าวๆ
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างน้อย สนใจกลุ่มที่ศึกษาเฉพาะ
การเก็บข้อมูล
วิธีการเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์และ
สรุปผล
อ้างอิงค าพูดหรือเรื่องราวจากกลุ่มตัวอย่าง
มีรูปแบบหลากหลาย
ปรากฏการณ์นิยม
Phenomenology
ใช้วิธีการหาความรู้แบบอุปนัยข้อมูลมีลักษณะเฉพาะไปสู่ข้อสรุปซึ่งมีลักษณะทั ่วไป
มุ่งท าความเข้าใจความหมายของปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ใน
ชีวิตที่บุคคลได้ประสบ ประสบการณ์ร่วม
หรือ การรับรู้ร่วม
ความส าคัญกับมนุษย์ (social actor) ว่าเป็ นแหล่งที่มาของ
ความรู้และความหมายต่างๆ ในสังคม
ความรู้/ความจริงน้น ขื้นกับแหล่งที่มาข้อมุล
ความจริงทางสังคมสร้างขึ้น ในความ นึกคิดของมนุษย์และเป็น อัตพิสัย(Subjective) จุดยืนในการหา ความจริงจึงเน้นอยู่บนฐานที่เรียกว่า “ประสบการณ์”
ู
MS.LOTCHANA NONPASITH 646020110045