Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 6 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกร
6.1 แนวคิดเกี่ยวกับภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกร
6.1.2 การเกิดการสืบทอดและการจำแนกภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากร
กระบวนการเรียนรู้ตามธรรมชาติของมนุษย์
4 การประกอบพิธีกรรม
5 การเรียนรู้ผ่านทางศาสนา
3 การสาธิตวิธีการ
6 การแลกเปลี่ยนความรู้
2 การลงมือกระทำจริง
7 การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรม
1 การลองผิดลองถูก
8 การสังเกต
การเกิดของภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกร มีขั้นตอนการเกิดและการสืบทอดดังนี้
3 การนำองค์ความรู้ที่พัฒนาเลือกสรรและปรับปรุงแล้วไปใช้ในการแก้ปัญหา
4 การถ่ายทอดสืบทอดองค์ความรู้ในเรื่องนั้นแก่บุคคลอื่น
2 การพัฒนาเลือกสรรและปรับปรุงองค์ความรู้ใหม่
1 การสั่งสมองค์ความรู้เดิม
5 การพัฒนาและปรับปรุงภูมิปัญญาที่กำลังใช้อยู่ให้สามารถแก้ไขปัญหาใหม่
การจำแนกลักษณะของภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากร
1 การจำแนกภูมิปัญญาชาวบ้านตามเหตุปัจจัย
1.2 ภูมิปัญญาเพื่อความอยู่ดี
1.3 ภูมิปัญญาเพื่อความอยู่เด่น
1.1 ภูมิปัญญาเพื่อความอยู่ได้
2 การจำแนกภูมิปัญญาชาวบ้านตามลักษณะของภูมิปัญญา
2.1 ภูมิปัญญาที่เป็นนามธรรม
2.2 ภูมิปัญญาที่เป็นรูปธรรม
1 ภูมิปัญญาเป็นความรู้
2 ภูมิปัญญาเป็นความเชื่อ
3 ภูมิปัญญาคือความสามารถ
4 ภูมิปัญญาทางวัตถุในสังคม
5 ภูมิปัญญาทางพฤติกรรมในสังคม
3 การจำแนกภูมิปัญญาชาวบ้านตามระดับ
3.2 ภูมิปัญญาของชุมชน
3.3 ภูมิปัญญาในภาพรวมของประเทศ
3.1 ภูมิปัญญาของตัวบุคคล
4 การจำแนกลักษณะของภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกร
4.2 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรที่เป็นความเชื่อและพฤติกรรมในการจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิตและการอนุรักษ์ของเกษตรกร
4.3 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากร
4.1 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรที่เป็นความรู้ทักษะของเกษตรกรรมและทักษะของเกษตรกร
4.4 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรที่เป็นเรื่องของการแก้ปัญหาการจัดการการปรับตัวการเรียนรู้เพื่อความอยู่รอดของบุคคลชุมชนและสังคม
4.5 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรที่เป็นประดิษฐกรรมหรือเครื่องมือ
6.1.3 การใช้ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากร
การใช้ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิตทางการเกษตร
2 การใช้ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรเพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรให้สามารถใช้ได้อย่างยั่งยืน
ลักษณะการใช้ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกร
2 การฟื้นฟู
3 การประยุกต์
1 การอนุรักษ์
4 การสร้างใหม่
6.1.1 ความหมายและความสำคัญของภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากร
ความหมายของภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากร คือ ความรู้ ความคิดความเชื่อ ความสามารถหรือประสบการณ์ดั้งเดิมของเกษตรกรในการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพต่อสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและให้เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ทั้งในด้านการจัดหาการใช้อย่างประหยัดการดูแลรักษาปกป้องคุ้มครองอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาตินั้นให้สามารถให้ผลได้อย่างยาวนานซึ่งเป็นผลจากกระบวนการพัฒนาความคิดการปรับตัวให้เข้ากับสภาวะการณ์ต่างๆการสร้างสิ่งหรือต้นแบบแผนการดำเนินชีวิตและได้มีการพัฒนาสื่อสารกันมาให้เกษตรกรสามารถทำการเกษตรและดำรงชีวิตในระบบนิเวศหรือสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน
ความสำคัญของภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกร
2 แสดงถึงความสัมพันธ์ของคนกับคนอื่นๆที่ร่วมกันในสังคมหรือในชุมชนรวมไปถึงภายนอกชุมชน
3 เป็นความรู้ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมาให้ลูกหลาน
1 แสดงถึงความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกันระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อม สัตว์ พืชในธรรมชาติ
4 มีความสำคัญต่อการพัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืน
6.2 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรประเภทต่างๆของเกษตรกร
6.2.2 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า
1 ภูมิปัญญาในการ จัดการทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าที่เป็นความรู้ความสามารถของเกษตรกร
1.2 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการกำหนดกฎระเบียบในการใช้ทรัพยากรของท้องถิ่น
1.3 ภูมิปัญญาในการจำแนกทรัพยากรป่าไม้ของเกษตรกรอีสาน
1.1 ภูมิปัญญาในการสร้างภูมินิเวศของชุมชนอีสาน
1.4 ภูมิปัญญาในการจัดทำระบบวรรณะเกษตร
2 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรป่าและสัตว์ป่าที่เป็นความเชื่อและพฤติกรรมที่แสดงออกในสังคม
2.3 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับพิธีการบวชต้นไม้
2.4 ภูมิปัญญาในเรื่อง การเลือกปลูกต้นไม้ในบริเวณบ้าน
2.2 ภูมิปัญญาในการจัดการป่าชุมชนดั้งเดิมหรือเหง้าวัฒนธรรม
2.5 ภูมิปัญญาที่เป็นความเชื่อเกี่ยวกับการออกดอกผลของต้นไม้
2.1 ที่คลองพญาภาษิตคำสอนและคันลำกับการจัดการทรัพยากรป่าไม้ 2.1.1 22 2.1.2 คลอง 14 2.1.3 ผญาภาษิต คำสอนและคำ
6.2.3 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรน้ำ
6.2.3 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรน้ำ
1 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรน้ำที่เป็นความรู้ความสามารถของเกษตรกร
1.3 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรน้ำที่เป็นเทคโนโลยีเพื่อการผลิต
1.4 ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการขุดตระพังและบ่อน้ำ
1.2 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรน้ำธรรมชาติและน้ำจากโครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้าในภาคอีสาน
1.5 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรน้ำที่เป็นประดิษฐกรรมเครื่องมือพื้นบ้าน
1.5.1 ระหัดวิดน้ำ
1.5.2 ระบบทดน้ำโดยฝาย
1.5.3 ภาชนะที่ใช้ในการเก็บน้ำ
1.1 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรน้ำในระบบเหมืองฝายในภาคเหนือ
2 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรแหล่งน้ำที่เป็นความเชื่อและพฤติกรรมที่แสดงออกในสังคม
2.3 การสืบชะตาแม่น้ำหรือขุนน้ำ
2.4 พิธีบุญบั้งไฟ
2.2 การร้องเหมือง
2.5 การแห่นางแมวขอฝน
2.1 การเลี้ยงผีขุนน้ำ
2.6 พิธีกรรมการชักพระหรือลากพระ
6.2.1 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรดินและที่ดิน
1 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรดินและที่ดินที่เป็นความรู้ความสามารถของเกษตรกร
1.1 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรดินที่เป็นการจัดระบบการปลูกพืช 1.1.1 การทำเกษตรอินทรีย์ 1.1.2 การทำเกษตรธรรมชาติ 1.1.3 การปลูกพืชหมุนเวียน 1.1.4 การทำการเกษตรผสมผสาน
1.2 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรดินที่เป็นเทคนิค 1.2.1 การปลูกพืชตามขั้นบันได 1.2.2 การปรับปรุงบำรุงดินโดยอินทรีย์สารตามธรรมชาติ 1.2.3 การปลูกพืชคลุมดินและการใช้วัสดุคลุมดิน 1.2.4 การทำไร่หมุนเวียนของชุม ชนบนพื้นที่สูงภาคเหนือ 1.2.5 เทคนิค 1.2.6 การทำคันนา
1.3 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรดินและที่ดินที่เป็นเครื่องมือทางการเกษตร 1.3.1 จอบ 1.3.2 คราบ 1.3.3
2 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรดินและที่ดินที่เป็นความเชื่อและพฤติกรรมที่แสดงออกในสังคม
2.2 ภูมิปัญญาในการเลือกยุทธภูมิของคนอีสาน
2.3 ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับการจัดระบบกรรมสิทธิ์ในที่ดิน
2.3.1 กรรมสิทธิ์ของปัจเจกบุคคล
2.3.2 กรรมสิทธิ์ของส่วนรวม
2.1 ภูมิปัญญาในการจำแนกพื้นที่ดินเพื่อใช้ประโยชน์
2.4 ภูมิปัญญาที่เป็นพิธีกรรม
6.2.4 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรประมง
1 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรประมงที่เป็นความรู้ความสามารถของเกษตรกร
1.1 ภูมิปัญญาที่เป็นความรู้ความสามารถเกี่ยวกับทะเล ฤดูกาล และสัตว์น้ำ
1.2 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรประมงที่เป็นประดิษฐกรรมและเครื่องมือ
1.2.1 เครื่องมือประมงพื้นบ้าน
1 ตัวเครื่องมือ
2 ตัวเครื่องล่อ
1.2.2 เครื่องมือจับสัตว์น้ำ
2 ยอ
3 สวิง
4 อวน
1 แห
5 ลอบ
6 ไซ
7 สุ่ม
8 เบ็ด
9 อีจู้
10 ข้อง
11 กระชัง
2 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรประมงที่เป็นความเชื่อและพฤติกรรมที่แสดงออกในสังคม
2.2 ความเชื่อเกี่ยวกับทรัพยากรในทะเล
2.3 พิธีกรรมในการทำขวัญเรือ
2.1 ความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติของชาวประมงพื้นบ้าน
6.3 กรณีตัวอย่างภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกร
6.3.2 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรระดับชุมชน
กรณีตัวอย่างที่ 1 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของชุมชนกรณีศึกษาบ้านปากร่วมชุมชนสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
บริบทของชุมชนพัฒนาการของฝากตราด
ผลประโยชน์ที่ได้จากปากกราด
บทวิเคราะห์กรณีตัวอย่าง
กรณีตัวอย่างที่ 2 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของชุมชนชุมชนบางขุนไทร อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
บริบทและภูมิปัญญาชุมชน
การก่อตั้งกลุ่มอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล
ภูมิปัญญาการจัดการสวนลางสาดในรูปแบบไม้ผลต่างระดับของชุมชน
2 การถ่ายทอดและสืบทอดภูมิปัญญา
3 จุดเด่นของภูมิปัญญา
1 ความสำคัญของภูมิปัญญาการทำระบบไม้ผลต่างระดับของชุมชน
บริบทของชุมชน
บทวิเคราะห์กรณีตัวอย่าง
บทวิเคราะห์กรณีตัวอย่าง
กรณีตัวอย่างที่ 3 ภูมิปัญญาการทำระบบไม้ผลต่างระดับของชุมชนภูมิปัญญาในการจัดการดินน้ำและต้นไม้บทเรียนจากระบบไม้ผลต่างระดับที่มีลางสาดเป็นพืชหลักบ้านสวนเขื่อนอำเภอเมืองจังหวัดแพร่
6.3.3 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรระดับองค์กรและเครือข่าย
กรณีตัวอย่างที่ 1 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรดินน้ำป่าของเครือข่ายป่าชุมชนฮักเมืองน่าน
บริบทเครือข่ายป่าชุมชนฮักเมืองน่าน
การจัดการทรัพยากรตามระดับของเครือข่าย
บทวิเคราะห์กรณีตัวอย่างภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเครือข่ายป่าชุมชนฮักเมืองน่าน
2 การจัดการ ถ่ายทอดและสืบทอดภูมิปัญญา
3 จุดเด่นของภูมิปัญญา
1 ความสำคัญของภูมิปัญญาการจัดการดินน้ำป่าของเครือข่ายป่าชุมชนฮักเมืองน่าน
กรณีตัวอย่างที่ 2 ภูมิปัญญาการจัดการทรัพยากรของเครือข่ายลุ่มน้ำปิงตอนบน
บริบทเครือข่ายลุ่มน้ำปิงตอนบน
การทำงานของเครือข่ายลุ่มน้ำปิงตอนบน
ภูมิปัญญาการจัดการป่าชุมชนของเครือข่ายลุ่มน้ำปิงตอนบน
ผลที่ได้รับจากการจัดการป่าชุมชนของเครือข่าย
1 ก่อให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร
2 การได้รับประโยชน์ที่เป็นผลผลิตจากป่า
3 การจัดการป่าชุมชนทำให้ชาวบ้านมีพันธมิตรที่เพิ่มขึ้น
บทวิเคราะห์กรณีตัวอย่าง
2 การถ่ายทอดและสืบทอดภูมิปัญญา
3 จุดเด่นของภูมิปัญญา
3.1 ภูมิปัญญาการจัดการทรัพยากรของเครือข่าย มีการประยุกต์วิถีปฏิบัติดั้งเดิมมาสู่การจัดทำขอบเขตพื้นที่ประเภทต่างๆ
3.2 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเครือข่ายมีความหลากหลายกิจกรรม
3.3 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรระดับองค์กรและเครือข่าย เป็นกิจกรรมที่เราได้ทุกคนเข้าด้วยกัน
1 ความสำคัญของภูมิปัญญาการจัดการทรัพยากรของเครือข่ายลุ่มน้ำปิงตอนบน
6.3 1 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรระดับครัวเรือน
กรณีตัวอย่างที่ 1 ภูมิปัญญาเกษตรธรรมชาติแบบธาตุ 4 ของถนนตำบลเขาพระอำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
ประวัติของพระหล่นการเรียนรู้ของพระหล่นแนวคิดเกษตรธรรมชาติแบบธาตุ 4
แนวคิดเรื่องความสมดุลของธรรมชาติ
บทวิเคราะห์กรณีตัวอย่าง
กรณีตัวอย่างที่ 2 ภูมิปัญญาระบบวรรณะเกษตรของผู้ใหญ่วิบูลย์เข็มเฉลิมตำบลเกาะขนุนอำเภอพนมสารคามจังหวัดฉะเชิงเทรา
ประวัติของผู้ใหญ่วิบูลย์
ภูมิปัญญาระบบวนเกษตรของผู้ใหญ่วิบูลย์
บทวิเคราะห์กรณีตัวอย่าง