Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 แนวคิดในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อการจัดการทรัพยากร…
หน่วยที่ 2
แนวคิดในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อการจัดการทรัพยากรสู่ความมั่นคงทางอาหาร
2.1 แนวคิดของการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2.1.2 แนวคิดของการพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาการเกษตร หมายถึง การวางแผนและการดำเนินการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรที่มุ่งหวังการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบเพื่อที่จะยกระดับมาตรฐานการผลิตทางการเกษตรโดยมีจุดมุ่งหมายในการเพิ่มคุณภาพชีวิตและพัฒนาความเป็นอยู่ของเกษตรกรสังคมและสาธารณะชนให้ดีขึ้นโดยผ่านกระบวนการการเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการและการดำเนินการต่างๆเพื่อให้เกิดการพัฒนาภาคการเกษตรสังคมและสาธารณะชนให้เกิดความยั่งยืน
2.1.3 แนวคิดของการจัดการทรัพยากรการเกษตร
การจัดการทรัพยากรน้ำ
การจัดการทรัพยากรดิน
การจัดการทรัพยากรป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ
2.1.1 แนวคิดของการส่งเสริมการเกษตร
มีวัตถุประสงค์สำคัญ
3 เพื่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนการเกษตรในด้านการเสริมสร้างคุณค่าทางด้านจิตใจภูมิปัญญาท้องถิ่นวัฒนธรรมเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม
4 เพื่อเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพการผลิตเพื่อให้ได้กำไรสุทธิด้านการเกษตรอย่างเหมาะสมและยั่งยืนโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในกระบวนการผลิตทางการเกษตร โดยให้ความสำคัญกับคุณภาพของสายพันธุ์พืชและปศุสัตว์ทางการเกษตรการเตรียมและการปรับปรุงพื้นที่การเก็บเกี่ยวการจัดการผลผลิตภายหลังการเก็บเกี่ยวการตลาด
2 เพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของกลุ่มเป้าหมายและสังคม ประเทศชาติโดยรวม
5 เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องทันสมัยและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม่นโยบายภาครัฐการเปลี่ยนแปลงทางการตลาดทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ
1 เพื่อให้บริการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการและเทคโนโลยีที่จำเป็นในการพัฒนาพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาด้วยตนเอง
6 เพื่อพัฒนาให้กลุ่มเป้าหมายเป็นกำลังสำคัญในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างชาญฉลาด
2.2 การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรเพื่อการเกษตร
2.2.2 การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตร
2 การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตรต้องให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วม
3 การพัฒนาทรัพยากรน้ำในดิน
4 การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตรต้องให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการ
1 การบำรุงรักษาและซ่อมแซมระบบชลประทาน
5 การคำนึงถึงปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องดังที่กล่าวไว้แล้วในตอนต้น
6 การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตรภายในพื้นที่ของเกษตรกร
7 การจัดการที่เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่
8 การผันน้ำระหว่างแม่น้ำ
2.2.3 การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้เพื่อการเกษตร
ระบบวนเกษตร หมายถึง ระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรเกษตรแบบผสมผสานในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเพิ่มผลผลิตจากการดำเนินกิจกรรมด้านการป่าไม้ การเกษตรกรรม การกสิกรรม การปศุสัตว์และการประมง ตลอดจนกิจกรรมอื่นที่เกี่ยวข้องโดยให้ความสำคัญกับการรักษาความสมดุลตามธรรมชาติของระบบนิเวศเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม ภายใต้ศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่
จำแนกได้ดังนี้
3 วนเกษตรที่มีต้นไม้ล้อมไร่นา
4 วนเกษตรที่มีแถบต้นไม้และพืชผลสลับกัน
2 วนเกษตรที่มีต้นไม้แทรกในไร่นาหรือทุ่งหญ้า
5 วนเกษตรใช้พื้นที่หมุนเวียนปลูกไม้ยืนต้น พืชผล และเลี้ยงสัตว์
1 วนเกษตรแบบบ้านสวน
2.2.1 การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรดินเพื่อการเกษตร
ดินเค็ม หมายถึง ดินที่มีปริมาณเกลือที่ละลายอยู่ในสารละลายดินมากเกินไป
ดินทรายจัด หมายถึง ดินที่มีเนื้อดินบนเป็นดินทรายหรือดินทรายปนร่วนมีอนุภาคขนาดทรายเป็นองค์ประกอบมากกว่าร้อยละ 85 มีความหนามากกว่า 50 เซนติเมตร
ดินตื้น หมายถึง ดินที่มีชั้นลูกรังก้อนกรวดเศษหินปะปนอยู่ในเนื้อดินหรือมีดิน หินปูนมาร์ลหรือพบชั้นหินพื้นอยู่ตื้นกว่า 50 cm จากผิวดิน
ดินเปรี้ยวจัด หมายถึง ดินที่มีสภาพความเป็นกรดสูงมากเนื่องจากอาจจะมีกำลังมีหรือมีกรดกำมะถันเกิดขึ้นในดิน
ดินอินทรีย์หรือที่เรียกกันทั่วไปว่าดินพรุเกิดจาก การสะสมเศษซากอินทรีย์ที่เกิดจากการสลายตัวเน่าเปื่อยของพืชพรรณไม้ตามธรรมชาติ
ดินกรดมีค่า pH ต่ำกว่า 7
การปรับปรุงคุณภาพของดินที่มีปัญหา
2 การป้องกันการแพร่กระจายของดินที่มีปัญหาจากแหล่งกําเนิดไปยังพื้นที่อื่น
3 การปลูกพืชบำรุงดิน
1 การป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน
2.3 การจัดการสิ่งแวดล้อมทางการเกษตรเพื่อความมั่นคงทางอาหาร
2.3.1 การจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
มลพิษทางการเกษตรจำแนกเป็น
2 มลพิษทางการเกษตรที่แพร่กระจายออกนอกพื้นที่การเกษตร
3 มลพิษทางการเกษตรที่สะสมอยู่ในพื้นที่และแพร่กระจายออกนอกพื้นที่การเกษตร
จำแนกมลพิษสิ่งแวดล้อมจากการเกษตรที่สำคัญเป็น 2 รูปแบบ
1 มลพิษทางน้ำ
2 มลพิษทางดิน
1 มลพิษทางการเกษตรที่เกิดขึ้นเฉพาะในพื้นที่การเกษตร
2.3.2 การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความมั่นคงทางอาหาร
รูปแบบการบริหารจัดการทางการเกษตร
2 การได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกและปัจจัยสนับสนุนการผลิตทางการเกษตร
3 การสร้างหลักประกันด้านผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการผลิตทางการเกษตร
1 สิทธิการถือครองที่ดิน
4 การดำรงไว้ซึ่งวิถีชีวิตและองค์ความรู้ภูมิปัญญา
5 รูปแบบการบริหารจัดการทางการเกษตร
การจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
2 บำบัด
3 นำกลับมาใช้ใหม่
1 ลดปริมาณ ณ แหล่งกำเนิด
4 คัดแยกและทำให้ตกตะกอน