Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 การสร้างเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยทางส่งเสริมแ…
หน่วยที่ 6
การสร้างเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร :
การสร้างเครื่องมือ
เก็บรวบรวมข้อมูล
ประเภทของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์
แบบสังเกต
แบบทดสอบ
เครื่องมืออื่นๆ
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
กำหนดข้อมูลที่ต้องการ
กำหนดประเด็นคำถามในการวิจัย
สร้างข้อคำถามให้ครบทุกประเด็นตามตัวแปร
ทดลองใช้เพื่อหาคุณภาพของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนปรับปรุงแก้ไขเพื่อนำไปใช้จริง
ความหมายและความสำคัญ
ของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
หมายถึง เครื่องมืออุปกรณ์หรือสิ่งที่ผู้วิจัยใช้เป็นสื่อสำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลตามตัวแปรในการวิจัยที่ผู้วิจัยได้กำหนดตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ความสำคัญ
เป็นกุญแจสำคัญนำไปสู่การหาคำตอบของการวิจัย
เป็นตัวเชื่อมที่สำคัญระหว่างปัญหา วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลและรายงานผลวิจัย
ความสำคัญต่อคุณภาพของการวิจัย
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีส่วนสำคัญทำให้การเก็บรวบรวมข้อมูลกระชับตรงประเด็นตามวัตถุประสงค์
การตรวจสอบเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
การกำหนดคุณภาพของการวัด
ความตรงในการวัด
ความเที่ยงในการวัด
ความว่องไวในการวัด
การมีความหมายในการวัด
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการตรวจสอบเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
ความผิดพลาดในการวัด
ความผิดพลาดสุ่ม
ความผิดพลาดไม่สุ่ม
การตรวจสอบความตรงในการวัดของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
ประเภทความตรงในการวัด
ความตรงในเนื้อหา
ความตรงตามมาตรฐาน
ความตรงในตัวสร้าง
วิธีตรวจสอบความเที่ยง
วิธีการวัดซ้ำ
วิธีการวัดแบบที่ทดสอบแทนกันได้
วิธีการวัดแบบแบ่งครึ่ง
วิธีการวัดความสอดคล้องภายใน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูล
สิ่งที่ควรพิจารณาในขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูล
แง่มุมการรับรู้ข้อมูล
บริบททางสังคมและวัฒนธรรมของข้อมูล
หลักในการเลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ต้องการตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ลักษณะของประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา
ระยะเวลาที่ทำการวิจัย
กำลังคนและงบประมาณ
การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสอบถาม
การส่งแบบสอบถามให้ผู้ตอบ
การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์
การส่งแบบสอบถามผ่านทางสื่อออนไลน์
การนำแบบสอบถามไปส่งให้ผู้ตอบเอง
การเก็บข้อมูลโดยการสังเกต
ประเภทของการสังเกต
การสังเกตแบบมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด
การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด
ขั้นตอนการเก็บข้อมูลโดยการสังเกต
การเตรียมการสังเกต
ขั้นการสังเกต
ขั้นการบันทึกข้อมูล
ขั้นเสร็จสิ้นสุดการสังเกต
การเก็บข้อมูลโดยเครื่องมืออื่นๆ
ประเภทแผนที่
แผนที่ทรัพยากร
แผนที่หมู่บ้าน
แผนที่ภาพตัดขวาง
แผนที่ภาพตัดขวางแต่ละช่วงเวลา
แผนที่ทางสังคม
แผนที่ความคิด
ประเภทแผนผัง
แผนผังกิจกรรม
Family Tree
แผนผังเวนน์
แผนผังการถ่ายเททรัพยากรชีวภาพ
แผนผังการถ่ายเททรัพยากรระหว่างหมู่บ้าน
แผนผังใยแมงมุม
แผนผังต้นไม้ปัญหา
แผนผังก้างปลา
แผนผังแนวโน้ม
ประเภทปฏิทิน
ปฏิทินแรงงาน
ปฏิทินฤดูกาล
ปฏิทินเวลา
ประเภทตาราง
เมตริกคะแนน
เมตริกคะแนนแหล่งข้อมูลข่าวสาร
ขั้นตอนการเก็บข้อมูลโดยการใช้เครื่องมืออื่นๆ
ขั้นตอนเตรียมตัวของผู้เก็บข้อมูล
ขั้นตอนการจัดทำแผนการเก็บข้อมูล
ขั้นการเตรียมวัสดุอุปกรณ์
ขั้นการกำหนดวัน เวลา สถานที่เก็บข้อมูล
ขั้นการเก็บข้อมูล
ขั้นสิ้นสุดการเก็บข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลเป็นรายบุคคล
การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลเป็นหลัก
การสัมภาษณ์แบบเป็นกลุ่ม
่ขั้นตอนการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
ขั้นเตรียมการสัมภาษณ์
การส่งข้อมูลหรือแบบสัมภาษณ์ให้ผู้ให้ข้อมูลได้ศึกษาและเตรียตัวก่อนสัมภาษณ์
จั้นบันทึกผลการสัมภาษณ์
ขั้นสิ้นสุดของการสัมภาษณ์