Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาระบบภูมิคุ้มกัน, นางสาวกชกร ผ่องแก้ว รหัสนักศึกษา 644N46101…
พยาธิสรีรวิทยาระบบภูมิคุ้มกัน
โรคในระบบภูมิคุ้มกัน
ภาวะพร่องภูมิคุ้มกัน
Primary immunodefiiciency
Deficiency of innate immune mechanism
Phagocytic cell defect : เป็นความผิดปกติของ T cell และ B cell
Complement system deficiencies : เป็นความผิดปกติของเซลล์ที่สร้าง complement
Deficiency of specific acquired immunity
Predominantly T cell deficiency คือ ภาวะที่ T-cell ทำงานผิดปกติมักจะมีความผิดปกติของการสร้าง antibody ร่วมด้วย
combined immunodeficiency โรคนี้จะมีความผิดปกติของภูมิคุ้มกันทั้ง 2 ประเภทร่วมกัน
Predominantly antibody defects
Common variable immunodeficiency (CVID) ผู้ป่วยมักมีอาการติดเชื้อบ่อยโดยเฉพาะระบบทางเดินหายใจและระบบทางเดินอาหาร
Selective IgA deficiency (SIAD) เป็นภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องชนิดปฐมภูมิที่พบบ่อย ผู้ป่วยส่วนมากไม่มีอาการติดเชื้อที่บ่อยกว่าคนปกติ
X-linked agammaglobulinemia (XLA) เป็นภาวะภูมิคุ้มกันพร่องแต่กำเนิด จะมีระดับ immunoglobin ต่ำสุด
IgG subclass deficiency ผู้ป่วยมีความผิดปกติของ IgG
Immunodeficiency with other abnormalities
Wiskott-Aldrich syndrome (WAS) เกิดจากการมี mutation ของ gene ที่ควบคุมการสร้าง WAS protien
Ataxis-Telangiectasia (AT) เกิดจากการมี mutation ของ gene ที่เรีนกว่า AT mutated
Digeorgr syndrome เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมจากการพัฒนาที่ผิดปกติของ pharygeal pouches ที่ 3 และ 4
Secondary immunodeficiency
สาเหตุ
multifactorial secondary immunodeficiency ตือ ภาวะพร่องภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการติดเชื้อทำลายระบบภูมิคุ้มกัน
เอดส์ เกิดจากเชื้อไวรัส HIV เข้าไปทำลาย TH lymphocyte มีผลทำให้ระบบภูมิคุ้มกัน CMIR ,HIR ทำงานลดลง
ภาวะภูมิคุ้มกันต่อตนเอง
ภาวะภูมิคุ้มกันไวเกิน
Type2. Hypersentation เป็นภาวะภูมิคุ้มกันไวเกินที่จำเพาะต่อเซลล์หรือเนื้อเยื่อนั้นทีมีปฏิกิริยาตอบสนองกับเซลล์ antibody ชนิด IgG และ IgM
Type 3 Hypersentation เกิดจากเมื่อได้รับ antigen มากทำให้เกิดการสร้าง complement ที่ผิดปกติ เกิดเป็น antigen-antibody-complexes
Type1. Hypersentation อาจเกิดจากสิ่งกระตุ้นที่เป็น antigen เข้าสู่ ร่างกายจะทำปฏิกิริยากับ IgE ไปจับกับตัวรับที่ผนังเซลล์ Basophil mast cell เมื่อรับ antigen ซ้ำ จะรวมตัวกับ IgE ที่จำเพาะเกิดการหลั่งสารที่ทำให้เกิดอาการแพ้
Type 4 Hypersentation ไม่มี antibody มาเกี่ยวข้องแต่เกี่ยวกับ macrophage และ antigen presenting cell
Non-organ-specific autoimmune disease
Rheumatoid arthritis(RA) โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ คาดว่าเกิดจากimmune complex ที่เกิดขึ้นไปเกาะตามข้อหรือเนื้อเยื่อต่างๆ
Scleroderma เกิดจากการมี collagen สะสมในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
Systemic lupus erythematosus (SLE) เกิดภาวะไวเกินของเม็ดเลือดขาวชนิด T และ B lymphocyte
Organ-specific autoimmune disease
Hashimoto’s thyroiditis เป็น autoantibody ต่อแอนติเจนของต่อมไทรอยด์หลายชนิด
Grave’s disease เกิดจากการมี autoantibody ต่อ THSR ทำให้สร้างไทรอยด์ฮอร์โมนมากผิดปกติ
Type 1 diabetes mellitus เกิดจากการมี autoantibody ต่อเบต้า islet. cell ในตับอ่อน ทำให้สร้างอินซูลินได้ลดลง
Myasthenia gravis ผู้ป่วยมี autoantibody ต่อ acetylcholine recepter ของเซลล์กล้ามเนื้อ
Autoimmune hemolytic anemia ผู้ป่วยสร้าง autoantibody ต่อเม็ดเลือดแดงของตนเอง
Multiple sclerosis (MS) ผู้ป่วยมีการกระตุ้น auto reactive ของ T cell มีผลต่อการทำงานของ myelin ในระบบประสาท
โรคที่เกิดจากการเพิ่มจำนวนเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันโดยไม่ทราบสาเหตุ
Intermediate lymphoproliferation ความผิดปกตินี้จะไม่พบ antigen ที่ชัดเจน
Malignant lymphoproliferation พบความผิดปกติที่ B lymphocyte plasma หรือความผิดปกติที่ T. Lymphocyte
Reactive lymphoproliferation เป็นการตอบสนองตามปกติต่อการกระตุ้นของ antigen ต่อมน้ำเหลืองจะโต
การตอบสนองของร่างกาย
การตอบสนองด้านที่ 2 (Second line of defence)
เซลล์ต่างๆ เช่น Phagocytosis cell
โปรตีนที่ต่อต้านจุลชีพ (Antimicrobial protein )
Complement สร้างโดย macrophage
Interferons (INF) เป็นโปรตีนขนาดเล็กหลั่งจากเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส
Natural killer cell (NK cells)
Natural killer cell (NK cells)
Epsinophils
การตอบสนองด้านที่ 3 (Third line of defence)
Primary lymphoid organ
ภูมิคุ้มกันด้านเซลล์ (CMIR) มีหน้าที่ยับยั้งการติดเชื้อที่เกิดในเซลล์
ภูมิคุ้มกันแบบสารน้ำ (HIR) เป็นภูมิคุ้มกันจำเพาะที่ใช้สารน้ำยับยั้งการติดเชื้อที่เกิดนอกเซลล์
Secondary lymphoid organ
อวัยวะที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ต่อมน้ำเหลือง ม้าม payer’s patch
การตอบสนองด้านแรก(First line of defence)
เช่น การป้องกันที่ผิวหนังและเยื่อบุที่มีลักษณะชื้น สร้างสารมีฤทธิ์ทำลายแบคทีเรีย
การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน
การตอบสนองแบบจำเพาะ
ภูมิคุ้มกันแบบสารน้ำ (HIR)
กลุ่มที่1 memory cell
เป็นเซลล์ที่เก็บความทรงจำจากประสบการณ์ที่เคยพบ antigen ชนิดนั้น
กลุ่มที่2 plasma cell
Immunoglobulin M (Ig M)
Immunoglobulin D (Ig D)
Immunoglobulin A (Ig A)
Immunoglobulin E (Ig E):
Immunoglobulin G (Ig G)
ภูมิคุ้มกันด้านเซลล์
เมื่อ T lymphocytes ถูกกระตุ้น จะเจริญเติบโตและแบ่งตัวเป็น effector cell ชนิดต่างๆ
Memory cell
Lymphocyte producing cell
Cytotoxin cell (Tc)
Suppressor T (Ts)
Helper T cell
การตอบสนองแบบไม่จำเพาะ
การตอบสนองทางระบบภูมิคุ้มกันโดย T cell
ลักษณะทั่วไป
ประเภท
Specific acquired immunity เป็นระบบภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับเชื้อโรคนั้น
Innate immunity เป็นระบบภูมิคุ้มกันแต่กำเนิด
หน้าที่
Homeostasis เพื่อกำจัดเซลล์ปกติของร่างกายที่ทำงานไม่ไหวแล้ว
Surveillance เพื่อคอยดูการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ต่างๆ ตอนกำจัดเซลล์ที่มีการเปลี่ยนแปลงผิดปกติ
Defense เพื่อปกป้องร่างกาย
ส่วนประกอบ
Immune cell
Major histocompatibillity complex (MHC)
Class 1 สามารถจับ cytotoxic T cell
Class 3 proteins ได้แก่ macrophage , dendritic cell,lymphotoxin
Class2 สามารถจับกับ helper T cell
Cytokines
ทำหน้าที่ตืดต่อระหว่างเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน
Immune system
Primary lymphoid organ
ต่อมไทมัส
เซลล์ (Immune cell)
ไขกระดูก
Secondary lymphoid organ
ม้าม
ต่อมน้ำเหลือง
นางสาวกชกร ผ่องแก้ว รหัสนักศึกษา 644N46101 สาขาพยาบาลศาสตร์