Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดพื้นฐานทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช - Coggle Diagram
แนวคิดพื้นฐานทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
สุขภาพจิตการเจ็บป่วยทางจิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลจิตเวช
สุขภาพจิต Mental Health)
พฤติกรรมของบุคคลจะเป็นสิ่งบ่งชี้ถึงสุขภาพจิตของเขา
แต่ละคนมีมุมมองและการแสดงออก
องค์การอนามัยโลกให้ความหมายของภาวะสุขภาพว่า “เป็นภาวะที่เป็นสุขทั้งร่างกาย จิตใจและสังคม ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคหรือการเจ็บไข้ได้ป่วยเท่านั้น”
ความเจ็บป่วยทางจิต
ความไม่พึงพอใจในคุณลักษณะความสามารถและความสำเร็จของตน
สัมพันธภาพบกพร่องไม่สามารถปรับตัวหรือจัดการปัญหาในชีวิต ไม่อยู่ในโลกของความเป็นจริง
เกณฑ์ทั่วไปที่ใช้วินิจฉัยความผิดปกติทางจิต
ทีมสหวิทยา
จิตแพทย์ (Psychiatris) หน้าที่บำบัด รักษา การใช้ยา การผ่าตัด
พยาบาลจิตเวช (Psychiatris Nurse) ให้การพยาบาล ประสานงานระหว่างทีมการรักษา
นักจิตวิทยาคลินิก รับผิดชอบการตรวจทางจิตวิทยาได้แก่
กลุ่มภาพสะท้อน (Projective Group)
การทดสอบบุคลิกภาพ (Poersonslity test)
ตรวจสภาพจิต (Psychological test)
การทำกลุ่มจิตบำบัด (Group Psychotherapy)
การทดสอบระดับสติปัญญา (IQ)
การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ใช้ทั้งศิลป์
การใช้ตนเองบำบัดอย่างมีเป้าหมาย
ทำงานกับบุคคลทุกช่วงกลุ่มวัย ทำงานได้ทุกสถานการณ์
ใช้ทั้งศาสตร์
ทฤษฎีทางจิตสังคม ประสาทชีวภาพ (Neurobiological theory)
หลักฐานเชิงประจักษ์
วิวัฒนาการของจิตเวชศาสตร์ในต่างประเทศ
วิวัฒนาการความเป็นมาของจิตเวชศาสตร์จำแนได้เป็น 6 ยุค
ยุคก่อนประวัติศาสตร์หรือยุคดึกดำบรรพ์
คนเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อำนาจลึกลับ
การรักษาทำโดยพระหรือหมอผี
ยุควัฒนธรรมกรีกหรือโรมัน
ระยะที่กรีกเจรฺิญรุ่งเรือง ความเชื่อในเรื่องการเจ็บป่วยทางจิต
ยุคกลางหรือยุคมืด
มีการทรมานผู้ป่วยด้วยวิธีต่างๆ
เชื่อเรื่องแม่มดเวทมนต์คาถา มีการเผาทั้งเป็นการถ่วงน้ำ
ยุคก่อนจิตเวชสมัยใหม่
เริ่มมีโรงพยาบาลจิตเวช แต่วิธีการรักษายังใช้การกักขังไม่ให้ติดต่อกับใคร
ยุคต้นของจิตเวชสมัยใหม่
มีการเขียนหนังสือเกี่ยวกับความผิดปกติทางจิตเป็นนเล่มแรกเริ่มรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล
ุ6. จิตเวชสมัยใหม่
โดยการสะกดจิต คิดค้น และพัฒนาทฤษฎีจิตวิเคราะห์
พัฒาแนวคิดทฤษฎีทางจิตสังคม
ประวัติความเป็นมาของจิตเวชศาสตร์เป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดควา่มเข้าใจถึงการเปลียนแปลงและพัฒนาการทางด้านจิตเวช
การศึกษาค้นคว้า
แนวความคิดทฤษฎี
ความเชื่อ
วิวัฒนาการของจิตเวชศาสตร์ในประเทศไทย
พ.ศ. 2432-2467 สร้างโรงพยาบาลคนเสียจริตแห่งแรกที่ปากคลองสาน
ให้การรักษาอย่างมีเเมตตา กรุณา สิ่งแวดล้อมสวยงาม ร่มรื่น
ผู้ดูแลพูดจาดีกับผู้ป่วยถ้าทำร้ายผู้ป่วยจะได้รับโทษถูกไล่ออกและลงโทษตามกฏหมาย
ยุคโรงพยาบาลจิตเวชแผนใหม่ ปี พ.ศ. 2468-2484
หลวงวิเชียรแพทยาคมเป็นผู้อำนวยการคนแรก เปลี่ยนชื่อ โรงพยาบาลเป็นโรคจิตธนบุรี
นายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว ผู้อำนวยการ ลำดับต่อมาได้รับสมญา บิดาแห่งจิตเวชศาสตร์ไทย
แนวโน้มการพยาบาลจิตเวช
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้พัฒนาความรู้ในการให้บริการข้ามวัฒนธรรม
การนำเทคโนลยีสารสนเทศมาใช้
ประชากรสูงอายุมากขึ้น
ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กเพิ่มขึ้น
ประเด็นการเพิ่มคุณภาพการดูแล
วิวัฒนาการของการพยาบาลสุขภาพจิต
มองผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวมประกอบด้วยร่างกายและจิตวิญญาณ
ผู้ป่วยเป็นสมาชิกคนหนึ่งของครอบครัวและชุมชน
เผยแพร่ตำราและแนวคิดเรื่องการใช้สัมพันธภาพระหว่างโดยพัฒนาจากทฤษฎีสัมพันธภาพ