Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยายาลสุขภาพจิตและจิตเวช - Coggle Diagram
การพยายาลสุขภาพจิตและจิตเวช
วิวัฒนาการของจิตเวชสตร์ในประเทศไทย
4.ยุคเเรกเริ่มงานสุขภาพจิตชุมชน ปี พ.ศ.2504-2514
จัดให้มีการรักษาแบบ Milieu therapy
มีบ้านกึ่งวิถี Half-eay house
ดำเนินตามเเผนพัฒนาเศรษฐกิจเเละสังคมเเห่งชาติ ปี พ.ศ.2507
มี รพ.กลางวัน Day hospital
5.ยุคของการผสมผสานงานสุขภาพจิตเข้ากับระบบบริการสาธารณสุขฐาน ปี พ.ศ.2515-2524
ผสมผสานงานสุขภาพจิตเเละระบบบริการสาธารณสุขทั่วไป
ให้ความสำคัญกับงานด้านสุขภาพจิตเเละจิตเวชชุมชุน
3.ยุคของงานสุขภาพจิต ปี 2485-2503
ริเริ่มงานส่งเสร้มป้องกันปัญหาสุขภาพจิต เพื่อลดจำนวนผู้ป่วย เปิดคลินิกศูนย์สุขวิทยา
ใช้วิธีการรักษาใหม่ๆแบบตะวันตก เช่น ทำจิตบำบัดพฤติกรรมบำบัด บำบัดด้วยยากล่อมประสาท
6.ยุคของการสาธารณสุขมูลฐาน ปี พ.ศ.2525-2534
ตามเเผนพัมนาการเศรษฐกิจและสังคมเเห่งชาติ ฉบับที่ 5-6
เป้าหมายให้ประชากรทั่วโลกมีสุขภาพดีถ้วนหน้า ปี พ.ศ2543
1.ยุคดั้งเดิม ปี พ.ศ.2432-2467
สร้าง รพ.คนจิตเสียจริตเเห่งเเรก ปากคลองสาน
ปัจจุบัน สถาบันจิดเวชศาสตร์สมเด็ดเจ้าพระยา
ให้การรักษาอย่างมีเมฆตา กรุณา สิ่งเเวดล้อมสวยงาม ร่มรื่นไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย
7.ยุคของงานส่งเสริมป้องกัน ปี พ.ศ.2535-ปัจจุบัน
ตามแผนพัมนาฉบับที่ 8 ลดการเกิดปัญหาสุขภาพจิตพัฒนาคุณภาพบริการืให้ประชาชนพึ่งพาตนเอง
ตามแผนพัฒนาฉบับที่ 9 และ 10 ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเเพียง
ตามเเผนพัฒนาฉบับที่ 7 สนับสนุนในประชาชนมีส่วนร่วมเน้นการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตเชิงรุก
2.ยุค รพ.จิตเวชเเผนใหม่ ปี พ.ศ.2468-2484
นายเเพทย์ฝน เเสงสิงเเก้ม ผู้อำนวยการลำดับต่อมา ได้รับสมญานามเป็น บิดาเเห่งจิตเวชศาสตร์ไทย เปลี่ยนชื่อ รพ.เป็น รพ.สมเด็จเจ้าพระยา
สร้าง รพ.จิตเวชตามภาคต่างๆ เช่น รพ.ศรีธัญญา สวนปรุง สวนสราญรมย์
หลวงวิเชียรเเพทยาคมเป็นผู้อำนวยการคนเเรก เปลี่ยนชื่อ รพ.เป็น รพ.โรคจิตธนบุรี
วิวัฒนาการประเด็นและเเนวโน้มทางการพยาบาลจิตเวช
วิฒนาการของจิตเวชศาสตร์ต่างประเทศ
ปี 1913 Effie Taylor บรรจุวิชาการพยาบาลจิตเวชไว้ในหลักสูตรการพยาบาล มหาวิทยา John Hopkins โดยหลักสูตรทั่วไปเเละการพยาบาลสุขภาพจิตเข้ากันไม่สามารถเเยกกันได้
ปี 1952 Hidegard Peplau เผยแพร่ตำราและเเนวคิดเรื่องการใช้สัมพันธภาพระหว่างบุคคลโดยพัฒนาจากทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของ Sulliaan
เริ่มตั้งเเต่สมัย Florence Nightingale ปี 1939 มีการมองผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวมประกอบด้านร่างกายและจิตวิญญาณไม่สามารถเเยกออกจากกันได้ ผู้ป่วยเป็นสมาชิกคนหนึ่งของครอบครัวและชุมชนซึ่งถือว่าเป็นศูนย์กลางของการพยาบาลส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลและผู้ป่วยปัจจุบันเรียกว่า การสื่อสารเพื่อบำบัด ส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการพึ่งพาตนเอง ซึ่งจะลดความวิตกังวลของผู้ป่วยจากการเผชิญกับความเจ็บป่วย
เป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงเเละพัฒนาการทางด้านจิตเวช ได้เเก่ เเนวความคิด ทฤษฎี ความเชื่อการศึกษาค้นคว้า ตลอดจนการปฎิบัติของประชาชนทั่วไปต่อความเชื่อทางจิตเวชตั้งเเต่อดีตจนปัจจุบัน
เเนวโน้มการพยายาลจิตเวชในการ
ประชากรสูงอายุมากขึ้น
ปัญหาสุขภาพจิตเเละจิตเวชเด็กเพิ่มมากขึ้น
ผู้รับบริการมาจากหลากหลายวัฒนธรรม หลากศาสนาต้องพัฒนาความรู้ในการให้บริการข้ามวัฒนธรรม
ประเด็นการเพิ่มคุณภาพการดูเเลความปลอดภัยของผู้ป่วย
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
การขาดเเคลนบุคลากรทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
วิวัฒนาการของการพยาบาลจิตเวชในประเทศไทย
ปี พ.ศ.2509 อบรมหลักสูตรวิชาการพยายาลจิตเวช 1 ปี ปัจจุบัน อบรม 4 ปี
มีการพัฒนาทั้งด้านการศึกษาเเละการบริการ
ปี พ.ศ.2529 ตั้งสมาคมพยาบาลจิตเวชเเห่งประเทศไทย
หลักสูตรวุฒิบัตรสาขาการพยาบาลจิตเวช (เทียบเท่าปริญญาเอก) เรียกว่า APN ต่อยอดจากหลักสูตรมหาบัณฑิต
ปี พ.ศ.2508 เปิดหลักสูตรวิชาการพยาบาลจิตเวชสำหรับครูพยาบาล
งานบริการเน้น Holistic care การดูเเลต่อเนื่องในชุมชน
ปี พ.ศ.2497 มีการฝึกปกิบัติจิตเวชในโรงพยาบาลจิตเวช
ปี พ.ศ.2533 หลักสูตรเฉพาะทางสาขาการพยาบาลจิตเวชเเละสุขภาพจิต
ปี พ.ศ.2520 ตั้งชมรมพยาบาลจิตเวช
ปี พ.ศ.2487 มีการสอนวิชาจิตเวชในโรงพยาบาล
มีหลักสูตรเฉพาะทางสาขาการพยาบาลจิตเวชเเละจิตหลักสูตร 2 ปี
ยุคสมัย
3.ยุคกลางหรือยุคมืด
ประมาณ 500-1500 ปีหลังคริสตศักราช
เป็นการเริ่มเเรกของยุคคริสเตียน ความเชื่อด้านจิตเวชกลับมาเชื่อ เรื่องไสยศสตร์ เหมือนยุคดึกดำบรรพ์
คศ.1247 เกิดสถานการดูเเลผู้ป่วยจิตเวชเป๋นเเห่งเเรก เรียกว่า Bathlehum Asylum หรือบ้านบ้าคลั่ง Med houes ผู้ป่วยถูกล่ามโซ่ นอนกับพื้นทราย ให้ผู้ป่วยออกไปขอทานเพื่อหารายได้
5.ยุคต้นของจิตเวชสมัยใหม่
ประเทษฝรั่งเศส Philippe Pinel เเพทย์สถานรักษาโรคจิตที่ Bicetre Asylumg เป็นผู้ปลดโซ่ตรวนให้ผู้ป่วยที่ถูกกักขัง ถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของจิตเวชสมัยใหม่
William Tuke ปี 1732-1822 พ่อค้าชาวอังกฤษ เริ่มต่อปากเสียงให้ผู้ป่วยจิตเวร จัดหาทุนเพื่อการรักษาก่อตั้งสถานบันรักษาโรคจิตชื่อ York Retreat ดูเเละผู้ป่วยอย่างเข้าอกเข้าใจ ปลอดภัย บรรยากาศสวยงาม
ชาวงปลายศตวรรษที่ 18-19 วิทยาศาสตร์เจริญก้าวไกล เบนจามิน รัช ปี 1745-181 บิดาเเห่งจิตเวชของสหัฐอเมริกา เขียนหนังสือเกี่ยวกับความผิดปกติทางจิตเป็ยเล่มเเรกเริ่มปฏิบัติต่อผู้ป่วยอย่างมีมนุษย์ธรรมให้ผูู้ป่วยทำงานเพื่อการรักษา
4.ยุคก่อนจิตเวชสมัยใหม่
ศตวรรษที่ 17-18 เป็นหัวเลี้ยวหัวต่อของการเเพทย์ปัจจุบันและพัฒนาการทางวิทยาศาสตร์ เริ่มมี รพ.จิตเวชศาสตร์เเต่วิธีการรักษายังใช้การกักขังไม่ได้ติดต่อกับใคร ผู้ป่วยส่วนมากเป็นที่รังเกียจและถูดทอดทิ้ง ดูถูกเหยียดหยาม
6.จิตเวชสมัยใหม่
ปลายศตวรรษที่ 20 ที่สหรัฐอเมริกา ได้มีการเรียกร้องสิทธิในเรื่องต่างๆ เช่น ผู้พิการ ให้มีสิทธิ์เท่าเทียมกัน
ปี 1856-1939 Sigmund Freud เเพทย์ชาวออสเตรีย รักษาโดยสะกดจิต คิดค้น เเละพัฒนาทฤษฏีจิตวิเคราะห์
ปี 1825-1895 Jean Charcot จิตเเพทย์ชาวฝรั่งเศษใช้วิธีการสะกดจิตในการรักษาทางจิต
ประมาณปลายปีศตวรรณที่ 19-20 มีการเเสวงหาความรู้ด้วยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ พัฒนาเเนวคิดทฤษฏิทางจิตเวช
มีการออก พรบเเละให้ทุนการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับประสาทวิทยาและสมอง
2.ยุควัฒนธรรมกรีกและโรมัน
Hippocrates เเพทย์ชาวกรีกเป็นบิดาเเห่งเเพทย์เชื่อว่าความมเจ็บป่วยทางกายและจิตเป็นผลมาจากธรรมชาติ ของเหลวในร่างกายไม่สมดุลการรักษาใช้ยาระบาย การชำระล้าง การใช้ไอน้ำ การนวด ออกกำลังกาย
Plato เป็นนักปราชญ์ชาวกรีก เชื่อว่าความเจ็บป่วยทางจิตใจไม่ควรอยู่ปะปนกับคนในเมืองญาติต้องรับผิดชอบ
ความเชื่อในเรื่องการเจ็บป่วยทางจิตและการดูเเลรักษาผู้ป่วยจิตเวชเปลี่ยนเเเปลงไปหันไปยึดหลักธรรมชาติ
ฝ่ายโรมันยังเชื่อถืออำนวจเหนือธรรมชาติเชื่อว่าความฝันเป็นลางบอกเหตุ ผู้ป่วยจิตยังถูกกักขังและไม่มีสิทธิ์ที่จะปกครองสมบัติของตนเอง
1.ยุคก่อนประวัติศาสตร์หรือยุคดึกดำบรรพ์
เชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อำนาจสิ่งลึกลับ ผีสางนางไม้ เทวดา เจ้าป่าเจ้าเขา
การรักษาทำโยพระหรือหมอผี ใช้วิธีรดน้ำมนต์ ปักเป่า กักขัง
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการพยายาลสุขภาพจิตเวชเเละจิตเวชในประเทศไทย
การเปลี่ยนเเปลงด้านเทคโนโลยี สังคม สิ่งเเวดล้อม เศรษฐกิจเเลฃะการเมือง
ปัญหาสุขภาพจิตเด็กมีมากขึ้น
ความผิดปกติทางจิตเป็นสาเหตุของการสูญเสียสุขภาวะในระดับต้นๆ เช่น เพศชายติดเเอลกอฮอร์ ผู้หญิงมีอาการซึมเศร้า วิตกกังวล
บุคลากรด้านสุขภาพจิตดีมีน้อย เช่น จิตเเพทย์ 0.86ต่อเเสนประชาการ พยาบาาลจิตเวช 3.74 ต่อเเสนประชากร
โครงสร้างประชากรที่มีผู้สูงอายุมากขึ้น เเละครอบครัวมีขนาดเล็กลง เเนวโน้มต่อไปจะเป็นครอบครัวเกี่ยวหรืออยู่คนเดียว