Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
100-400 การคิดเชิงคำนวณ - Coggle Diagram
100-400 การคิดเชิงคำนวณ
บทที่ 4 การทำให้ข้อมูลเป็นภาพและการสื่อสารด้วยข้อมูล
การสื่อสารด้วยข้อมูล
กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับโดยผ่านทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
องค์ประกอบของการสื่อสารโดยทั่วไปมี 4 ประการ
ผู้ส่งสาร
สาร
ช่องทางการสื่อสารหรือสื่อ
ผู้รับสาร
วัตถุประสงค์
เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกำเนิดข้อมูล
เพื่อช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์การ
เพื่อลดเวลาการทำงาน
ประโยชน์
รวดเร็ว
ความถูกต้องของข้อมูล
ความรวดเร็วของการทำงาน
ต้นทุนประหยัด
การทำข้อมูงให้เป็นภาพ
จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายหลักการและจุดประสงค์ของการทำข้อมูลให้เห็นภาพ
เลือกใช้วิธีการทำข้อมูลให้เป็นภาพได้อย่างเหมาะสม
การเล่าเรื่องจากข้อมูล
เป็นการถ่ายทอดเนื้อหาความรู้ ผลลัพธ์จากข้อมูล ผ่านการวิเคราะห์และประมวลผลออกมาเป็นภาพ
นำเสนอ 4 รูปแบบ
แบบตู้กดน้ำ
แบบร้านกาแฟ
แบบห้องสมุด
แบบห้องทดลอง
ข้อควรระวังในการนำเสนอข้อมูล
สิ่งที่ต้องคำนึงในการนำเสนอข้อมูล
ข้อมูลที่นำเสนอใส่ในงานนำเสนอนั้นจะต้องสั้น กระชับ
สีที่ใช้ต้องสบายตา และน่าสนใจ
รูปที่ใช้จะต้องสอดคล้องกับเนื้อหา
รูปที่นำมาใส่ในงานนำเสนอจะต้องไม่ใหญ่จนเกินไป
ภาพเคลื่อนไหวควรใส่ให้เหมาะสม ไม่มากไม่น้อยจนเกินไป
การใช้พื้นหลังควรหลีกเลี่ยงการใช้รูปภาพเป็นพื้นหลังเพราะจะทำให้ตัวหนังสืออ่านยากหรือถ้าต้องใช้พื้นหลังเป็นรูปภาพก็ควรหาพื้นหลังสีพื้นให้กับตัวอักษรด้วย
สิ่งที่ไม่ควรทำในการนำเสนอ
อาขยาน อ่านกระจุย
อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคอม
อย่านอกเรื่องไปไกล
อย่าเยอะ
ใช้ตัวอักษรบนหน้าสไลด์ให้น้อยที่สุด
บทที่ 5 การแบ่งปันข้อมูล
องค์ประกอบและรูปแบบพื้นฐานในการสื่อสาร
ผู้ส่ง
สาร
ช่องทาง
ผู้รับ
เทคนิคและวิธีการแบ่งปันข้อมูล
บล็อก มาจากคำว่า เว็บ-ล็อก ซื่งเป็นการเขียนบทความ อธิบายหรือให้ข้อมูลเพื่อนำไปเผยแพร่บนเว็บไซต์ปัจจุบันมีเว็บไซต์ที่ให้บริการ
ขั้นตอนการเขียนบล็อก
การวางแผน
ค้นคว้า
ตรวจสอบข้อมูล
การเขียนคำโปรย
การเขียน
การใช้ภาพประกอบ
ตวรจทางแก้ไข
ข้อควรระวังในการแบ่งปันข้อมูล
ไม่มีความลับในสังคมออนไลน์
ข้อมูลบางชนิดไม่ควรเปิดเผย
ข้อมูลบางชนิดอาจถูกนำมาใช้หลอกลวง
การรักษาข้อมูลที่ได้รับการปกป้องตามกฎหมาย
บทที่ 6 จริยธรรมและจรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร์และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560
จริยธรรมคอมพิวเตอร์
จรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร์
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560
พระราชบัญญัติที่ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ซึ่งคอมพิวเตอร์ที่ว่านี้ก็เป็นได้ทั้งคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ก สมาร์ทโฟน รวมถึงระบบต่าง
จริยธรรม ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ 2546 ยังระบุไว้ว่า จริยธรรม หมายถึง หลักของความถุกและความผิดที่บุคคลใช้เป้นแนวทางในการปฏิบัติ โดยสรุปแล้ว จริยธรรมจะมีความหายไปในแนวเดียวกัน คือ เป็นหลักเกณฑ์ที่ประชาชนตกลงร่วมกันเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติร่วมกันในสังคม
จริยธรรมคอมพิวเตอร์ นั้นอาจเข้าใจกันในหลายความหมาย เช่น หมายถึง หลักศีลธรรมจรรยาบรรณที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้แนวทางปฏิบัติหรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ที 4 ประเด็น
ความเป็นส่วนตัว
ความถูกต้อง
ความเป็นเจ้าของ
การเข้าถึงข้อมูล
เรื่องที่ทำผิดกฎหมาย พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
เข้าถึงระบบหรือข้อมูลผู้อื่นโดยไม่ชอบ มาตรา5-8
แก้ไข ดัดแปลง หรือทำให้ข้อมูลผู็อื่นเสียหาย มาตรา 9-10
ส่งข้อมูลหรืออีเมล์ก่อกวนผู็อื่นหรือส่งอีเมล์สแปม มาตรา 11
เข้าถึงระบบหรือข้อมูลทางด้านความมั่นคงโดยมิชอบ มาตรา 12
จำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อนำไปใช้กระทำความผิด มาตรา 13
นำข้อมูลที่ผิด พ.ร.บ. เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ มาตรา 14
ให้ความร่วมมือ ยินยอมรู้เห็นเป็นใจกับผู็ร่วมกระทำความผิด มาตรา 15
ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงภาพ มาตรา 16
บทที่ 7 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่
แนวคิดด้านปัญญาประดิษฐ์
การรับรู้
การแทนความรู้และการให้เหตุผล
การเรียนรู้
การปฏิสัมพันธ์อย่างเป็นธรรมชาติ
ผลกระทบทางสังคม
รูปแบบการให้บริการการประมวลผลแบบคลาวด์
infrastrure-as-a-Service (laaS)
Platform-as-a-Service(PaaS)
Software-as-a-Service(SaaS)
สถาปัตยกรรมอินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
สมองกลฝังตัวและเซนเซอร์
เกตเวย์และเครือข่าย
ส่วนสนับสนุนการบริการ
แอปพลิเคชั่น
เทคโนโลยีเสมือนจริง
การใช้ประโยชน์จากความเป็นจริงเสริม
ด้านการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย
ด้านการท่องเที่ยว
ด้านความบันเทิง/เกม
การใช้ประโยชน์จากความเป็นจริงเสมือน
ด้านการศึกษา
ด้านการท่องเที่ยว/เดินทาง
ด้านความบันเทิง/เกม
ด้านการสร้างงานศิลปะ
ด้านการแพทย์